วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2552

อพอลโล่(Apollo)




เทพอพอลโล Apollo ...อพลโล (Apollo)


เทพคู่แฝดผู้น้องของเทวีอาร์เตมิส คือเทพครองดวงอาทิตย์ ซึ่งภายหลังชาวกรีกและโรมันถือว่า เป็นดวงอาทิตย์ทีเดียว เหมือนอย่างที่ถืออาร์เตมิสเป็นดวงจันทร์ฉันนั้น ในชั้นดั้งเดิมสุริยเทพของกรีกคือ ฮีลิออส(Helios) ซึ่งเป็นบุตรของโอเพอร์เรียน (Hyperion) ในคณะเทพไทแทน แต่เมื่อคณะเทพไทแทนสิ้นอำนาจ ชาวกรีกจึงนับถือเทพ อพอลโลแทนสืบต่อมา เมื่อนาง แลโตนา มารดาของอพอลโล ถูกกระทำด้วยความหึงของเจ้า แม่ฮีรา เพราะเหตุเป็นที่ปฏิพัทธ์เสน่หาของ ซูส ต้องอุ้มครรภ์ หนีงู ไพธอน (Python) ของเจ้าแม่ ซอกซอนไปไม่มีที่จะให้ประสูติบุตรในครรภ์ได้จน ถึงเกาะดีลอส (Delos) เทพโปเซดอน มี ความสงสารบันดาลให้เกาะน้อยผุดขึ้นในทะเล นางจึงให้ประสูติอพอลโลกับอาร์เตมิส บนเกาะ นั้น ในทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา อพอลโลก็จับงูไพธอนฆ่าเสีย ด้วยเหตุนี้ บางทีอพอลโลก็เป็นที่เรียก ขานว่า ไพธูส (Pytheus) แปลว่า "ผู้ประหารไพธอน" นอกจากนี้อพอลโลยังมีชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อ มีชื่อตาม สถานที่เกิดว่า ดีเลียน (Felian) ฟีบัส (Phoebus) แปลว่า "โอภาส" หรือ "ส่องแสง" เป็นอาทิ ชื่อหลังนี้มัก ใช้บวกกับชื่อประจำว่า ฟีบัส อพอลโล เนือง ๆ เมื่อให้ประสูติบุตรแล้ว นางแลโตนาก็ยังไม่พ้นการรังควานของเจ้าแม่ฮีรา ต้องดั้นด้นเซซังต่อไปจนถึงแคว้น เคเรีย (Caria) ซึ่งอยู่ ในเอเซียไมเนอร์ปัจจุบันนี้ นางจำเป็นต้องหยุดพัก ณ ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งด้วยโรยกำลัง และขอดื่มน้ำจาก พวกชาวบ้าน ที่ออกมาถอนหญ้า คาอยู่ในบริเวณนั้น พวกชาวบ้านแทนที่จะสมเพชสงสารกลับ ไล่ตะเพิดและด่าทอนางด้วยคำ หยาบช้า ทำให้ซูสเทพบดีกริ้วจัดนัก ถึงแก่ สาปชาวบ้านเหล่านั้นให้กลายเป็นกบไปทั้งหมด ตำนานเรื่องนี้เห็นจะแสดงว่าใน ละแวกนั้นมีกบ ชุม และกบปัจจุบันอาจสืบเชื้อสายจากชาว บ้านที่ถูกสาปเหล่านั้นก็เป็นได้ อพอลโลเป็นเทพที่ชาวกรีกถือว่ามีรูปงามยิ่ง และเป็นนักดนตรีผู้ขับกล่อมเทพทั้งปวงบนเขาโอลิมปัส ด้วยพิณถือของเธอ นอกจากนี้เธอยังมีคันธนูซึ่งยิงได้ไกล จึงได้สมญานามว่า เทพขมังธนู ใช่แต่เท่านั้นเมื่อไร เธอยังเป็นเทพผู้ถ่ายวิชาโรคศิลป์ ให้แก่มนุษย์เป็นปฐม เป็นเทพแห่งแสงสว่างผู้ขจัดความมืดและเป็นเทพแห่ง สัจธรรมผู้ไม่เคยเอ่ยวาจาเท็จอีกด้วย วิหารของเทพอพอลโลนั้น มีอยู่ดาษดื่นทั่วไปในประเทศแต่ที่สำคัญที่สุดได้แก่วิหาร ณ เมืองเดลฟี ใกล้ทิวเขาพาร์นาซัส รูปอนุสาวรีย์ โคลอสซัส (Colosus) ที่เขาสร้างอุทิศแด่เธอ ณ เกาะ โรดส์ (Rhodes) นั้นเป็นสิ่งหนึ่งในสิ่งอัศจรรย์ทั้ง 7 ของโลกสมัยโบราณทีเดียว เทพอพอลโลได้สำแดงวีรกรรมสังหารผลาญชีวิตคนพาลมากมาย นอกจากเคยฆ่างู ยักษ์ไพธอนจนมีชื่อ เสียงมหาศาลแล้ว ยังสามารถสังหารยักษ์ อโลอาดี (Aloadae) และ อีฟิอัลทิส(Ephialtes) ซึ่งเป็นเชื้อสายของ วงศ์ไทแทนคิดล้มซูสเทพบดีเพื่อฟื้นวงศ์ไทแทนคืนมา เป็นต้น แต่มีครั้งหนึ่งที่อพอลโลยังไม่อาจเอาชนะมนุษย์ คนหนึ่งได้จนร้อนถึงไท้เทพซูสต้องออกมาประนีประนอม บุรุษเดินดินคนนั้นนามว่า เฮอร์คิวลิส หรือ เฮลาคลิสนั่นเอง เหตุเกิดเพราะเฮอร์คิวลิสไปขอคำพยากรณ์ที่วิหารเดลฟีแล้ว ได้รับคำทำนายไม่ถูกใจ จึงล้มโต๊ะ พิธีใน วิหารแล้วฉวยเอากระถางธูปไป เทพอพอลโลรีบรุดตามไปท้าเล่นมวยปล้ำเพื่อชิงเอากระถางคืน ปล้ำกันอยู่ นานไม่อาจรู้แพ้ชนะ ชะรอยซูสเห็น ท่าว่าขืนปล่อยไว้นานอพอลโลอาจจะเสียเปรียบพ่ายแพ้แก่มนุษย์เข้าได้ และ อาจเสียหน้าวงศ์เทพแน่ จึงเสด็จลงไปห้ามปรามให้เลิกราต่อกัน ขอให้เฮอร์คิวลิสคืนกระถางธูปแก่อพอลโล แล้วให้ เลิกราเรื่องบาดหมางต่อกัน เรื่องราวก็เลยจบลงด้วยดี เทพอพอลโลมีอุปนิสัยไม่ยอมแพ้ใครอยู่ไม่น้อย เห็นได้จากที่ไปแข่งเป่าขลุ่ยกับมาไซยาส์ซึ่งเป็นเทพชั้นรอง แล้วตั้งกรรมการตัดสินว่าผู้ใดเป่าเก่งกว่ากัน พระเจ้าไมดาส (Midas องค์ที่จับอะไรก็กลายเป็นทอง) เกิดตัดสินเข้าข้างมาไซยาส์ เพียงเท่านี้ อพอลโลก็ไม่ฟังอะไรอีก จึงสาปให้ไมดาสมีหูเป็นลาไปทันที ตามเรื่องต่าง ๆ ที่เธอมีบทบาทอยู่ อพอลโลดูจะเป็นเทพใจสูงกว่าองค์อื่น ๆ แต่ถึงกระนั้นก็มีอยู่ 2-3 เรื่อง ที่แสดงให้เห็นความโหดเ!้ยมดุร้ายของเธอดังเราจะเห็น จากเรื่องต่อไปนี้
การลงโทษนางไนโอบี เทพอพอลโลกับเทวีอาร์เตมิสเป็นที่สวาสดิ์ภาคภูมิใจของมารดายิ่งนัก นางถึงแก่โอ้อวดคุยฟุ้งเฟื่องไปไกลว่าจะหาบุตรใครเสมอบุตรของนางเห็นจะไม่มีอีกแล้ว ไม่ว่าจะเปรียบกันในเชิงสิริรูป สติปัญญา หรือพลังอำนาจ ก็ต้องแพ้บุตรของนางหลุดลุ่ย ความนี้เลื่องลือไปถึงนาง ไนโอบี (Niobe) ซึ่งเป็นธิดาของท้าว แทนทะลัส (Tantalus) และมเหสีเจ้ากรุง ธีบส์ (Thebes) นางไนโอบีกลับหัวเราะเยาะและค่อนว่า นางแลโตยามีลูกจะอวดกับเขาแต่เพียง 2 เท่านี้หรือ ส่วนนางเองสิมีถึง 14 เป็นชาย 7 ล้วนแต่มีรูปกำยำงามสง่า และเป็นหญิงล้วนแต่ทรงโฉมวิลาสวิไลถึง 7 นางไนโอบีลั่นวาจาก้าวร้าวสบประมาทนางแลโตนาอีกเป็นอันมาก ซ้ำยังกำเริบเสิบสานถึงแก่ห้ามชาวเมือง ของนางกระทำบูชา
เทพอพอลโลและเทวีอาร์เตมิส แถมบังอาจสั่งให้ทำลายรูปเคารพเทพและเทวีคู่นี้จากแท่นที่บูชา ในอาณาจักรของนางอีกด้วย นางแลโตนาโกรธแค้นหนักหนาในการที่ถูกหยามหยาบถึงเพียงนี้ จึงเรียกบุตรและ ธิดาเคียงข้าง และสั่งให้ออกตามฆ่าบุตรและธิดาของนางไนโอบีเสียให้สิ้น เทพบุตรเทพธิดาคู่แฝดอยู่ในอารมณ์ขึ้งเคียดเต็มที่ จึงขมีขมันออกไปตามคำสั่งทันที อพอลโลพบมานพทั้ง 7 ออกล่า! จึงประหารเสียด้วยลูกธนูตายหมดทั้ง 7 คน เมื่อข่าวการตายของบุตรรู้ไปถึงนางไนโอบี นางก็โศกเศร้า โทมนัสนัก ฝ่ายเจ้ากรุงธีบส์สวามีก็ทำลายตัวเองสิ้นไปด้วยอีกคนหนึ่ง ยังเหลือธิดาทั้ง 7 ยังไม่ทันที่มารดาจะวายโศก ก็ถูกเทวีอาร์เตมิสจองประหารอีก มิใยสาวผู้ถึงฆาตทั้ง 7 จะพยายามหนีให้พ้นลูกธนูของเจ้าแม่แห่งนายพรานอย่างไร ๆ ก็ไม่สำเร็จ แม้นาง ไนโอบีจะพยายามปกป้องลูก และอ้อนวอนขอความอารักขาคุ้มครองจากทวยเทพบน
เขาโอลิมปัสสักเท่าใดก็ไม่เป็นผล ธิดาของนางต้องศรล้มกลิ้งตายกันระเนระนาด ที่สุดจนนางที่ซุกอยู่ระหว่างอุระของมารดา เทวีอาร์เตมิสผู้อาฆาตก็ไม่ละเว้น ลูกธนูของเจ้าแม่แล่นเข้าเป้าเสียบนางนั้น ให้วายชีวิตไปแทบอุระของมารดาจนได้ นางไนโอบีสูญสิ้นทั้งสามีและบุตรธิดาที่มาดหมายเหลือแต่นางเดียวดายถึงไม่ตายก็เหมือนตาย ความเศร้ารันทดหนุนเนื่องประดังขึ้นมาแน่นอุระ นางก็แข็งชาไปทั้ง ร่างกาย มิอาจจะขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวได้ อนิจจา! ร่างของนางกลายเป็นหินตื้อตันไปหมด คงอยู่แต่หยาดน้ำตารินไม่สิ้นสุด แต่วันนั้นมาจนวันนี้ น้ำตานางจะหยุดไหลก็หา ไม่ ส่วนรูปหินของนางไนโอบีก็ยังปรากฏอยู่บนเขา ไซปิลัส (Sipylus) จนตราบเท่าทุกวันนี้ นักเทพปกรณัมวิทยาเขาว่ากันว่า เรื่องนี้ก็คือ ตำนานเปรียบเทียบถึงอำนาจของแสงอาทิตย์เมื่อสิ้นฤดูหนาว ซึ่งนางไนโอบีนั้นหมายถึงฤดูหนาว บุตรทั้ง 7 คือระยะ กาลแห่งความหนาว และลูกธนูของอพอลโลก็คือแสงอาทิตย์ อพอลโลถูกเนรเทศ เมื่อยังเยาว์อพอลโลเที่ยวไปตามแว่นแคว้นต่าง ๆ ทางทิศเหนือของประเทศกรีซ มีดินแดนของชนชาติไฮเพอร์โบเรียนและแคว้นเธสสะลีเป็นต้น เธอเที่ยวผูก สมัครรักใคร่หญิงทั่วไปตามวิสัยหนุ่มรุ่น ในแคว้นเธสสะลีมีสาวเจ้าคนหนึ่งงามนัก ชื่อว่า
โครอนนิส (Coronis) เป็นธิดาเจ้าแห่งแคว้นนั้น อพอลโลผูกสมัครรักใคร่ได้ เสียกับนางจนเกิดบุตรด้วยกันคนหนึ่ง แต่นางกลับปรากฏว่าเป็นหญิงหลายใจ ในระหว่างที่นางมีครรภ์ อพอลโลให้นกดุเหว่าขนขาวปลอดตัวหนึ่งเฝ้านางไว้ เมื่อนางคบชู้ นกก็ไปบอกข่าวแก่เทพผู้เป็นนาย อพอลโลบันดาลโทสะ พลอยสาปนกซึ่ง บอกข่าวอัปมงคลให้กลับมีขนสีดำไป ดังนั้นนกดุเหว่าจึงมีขนสีดำตั้งแต่นั้นมา ส่วนนางโครอนนิสถูกฆ่า ว่ากันว่าด้วยน้ำมือของเทพอพอลโลเองบ้าง ด้วยคมศรของเจ้าแม่ อาร์เตมิสบ้าง แต่บุตรในครรภ์ซึ่งจวนจะครบกำหนดคลอดนั้นรอดตาย ด้วยอพอลโล(บ้างก็ว่าเฮอร์มีส) เอาออกจากครรภ์ ตอนเผาศพนางโครอนนิส แล้วมอบให้แก่ ไครอน (Chiron) ผู้มีชาติเป็นอมนุษย์ เซนทอร์ (Centaur) เป็นผู้เลี้ยงดู ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ ไครอนนี้เป็นอาจารย์ผู้ปราดเปรื่อง เชี่ยวชาญในวิชาการต่าง ๆ มีวิชาดนตรี เภสัชกรรมวิทยา และวิชาธนูศิลป์ เป็นต้น เป็นที่นับถือของชาวกรีกโบราณว่า เป็นผู้ สอนมนุษย์ให้รู้จักใช้พืชสมุนไพรทำยา และเป็นอาจารย์ของวีรบุรุษคนสำคัญ ๆ ในเทพปกรณัมมากมาย เช่น อคิลีส, เฮอร์คิวลีส, เยสัน, พีลูส, อีเนียส และคนอื่น ๆ อีก ในตอนปลายอายุถูกเฮอร์คิวลีสยิงด้วยธนูอาบยาพิษ โดยความสำคัญผิดของเฮอร์คิวลีสในระหว่างที่ตามล้างเซนทอร์พวกหนึ่ง แม้เฮอร์คิวลิสจะช่วยแก้ไขให้รอดตาย และ ไครอนแม้จะเป็นหมออยู่กับตัว แต่ก็ไม่สามารถถอนพิษยาได้ พิษยาบันดาลให้ไครอนเจ็บปวดรวดร้าวนักหนา ซูสเทพบดีจึงโปรดให้กลายเป็นดาวอยู่ในกลุ่มดาวชื่อ แซชจิเตริอัส (Sagitarius) บุตรของเทพอพอลโล ที่อาจารย์ไครอนรับฝากไว้นั้นได้ขนานชื่อว่า เอสคิวเลปิอัส (Aesculapius) เป็นเด็กฉลาดเฉลียวมีความเข้าใจแตกฉานและเป็น ที่รักของอาจารย์อย่างยิ่งวิชาที่เขาใส่ใจศึกษาที่สุดได้แก่ โรคศิลป์ เพราะฉะนั้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขี้น เขาจึงกลายเป็นหมอบำบัดโรคผู้มีความสามารถยิ่ง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสในการบำบัดโรคนั้นยิ่งกว่าของอาจารย์มาก ด้วยที่สามารถบำบัดโรคและความป่วย ไข้ได้ทุกชีวิต ซึ่งไครอนเองทำไม่ได้ ในไม่ช้าชื่อ เสียงของเอสคิวเลปิอัสก็เลื่องลือไปไกล ไม่ว่าใครจะเจ็บไข้ได้ป่วย หนักหนาสาหัส หรือเล็กน้อย ถ้าได้รับการบำบัดจากเขาแล้วก็ทุเลาลงอย่างรวดเร็ว จนกล่าวได้ว่าหายวันหายคืนเลย ทีเดียว ผู้คนพากันไปขอรับการบำบัดโรค ณ สำนักของเขา ทั้งจากใกล้และไกลทุกทิศทาง นับว่าการบำเพ็ญประโยชน์ของ เอสคิวเลปิอัสแผ่ไพศาลยิ่ง ทั้งโดยเนื้อ นาบุญและโดยระยะทาง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสเป็นที่เลื่องลือไปจนว่ากันว่า ครั้งหนึ่งเขาสามารถแก้คนตายให้ฟื้นได้ อัน เป็นเหตุ ให้เทพปริณายกซูส กับเทพฮาเดส เจ้าแห่งแดนคนตายเดือดร้อน ทั้งริษยาและหวั่นเกรงในอำนาจ บารมีของ เอสคิวเลปิอัส หากปล่อยไว้นานไปเบื้องหน้าจะทำให้มนุษย์กำเริบอีก เห็นว่าจะละไว้มิได้ ซูสจึงประหาร เอสคิวเลปิอัส ด้วยอสนีบาต เทพอพอลโลบันดาลโทสะกล้าในการตายของบุตร แต่ไม่รู้จะโกรธเอากับเทพบิดาอย่างไร จึงหันไปไล่ เบี้ยเอากับช่างประกอบอสนีบาตถวายซูส คือ เทพฮีฟีสทัส กับยักษ์ไซคลอปส์ เธอน้าวคันธนูเงินมุ่งจะยิงธนู สังหารยักษ์ไซคลอปส์เสียให้สมแค้น แต่ซูสไม่ยอมให้อพอลโลทำเช่นนั้นได้ และเพื่อจะลงโทษบุตรในความ อุกอาจดังนี้ ไท้เธอจึงเนรเทศอพอลโลให้ลงมาอยู่ในมนุษย์โลก และให้เป็นข้าของมนุษย์เป็นเวลา 1 ปีเสียก่อน จึงจะพ้นโทษ เรื่องของเฟอิทอน นอกจากเอสคิวเลปิอัสแล้ว อพอลโลยังมีบุตรอีกคนหนึ่ง แต่เกิดกับนางอัปสร ไคลมินี (Clymene) ชื่อเฟอิทอน (Phaeton) วันหนึ่งเฟอิทอนถูก เพื่อนเรียนหนังสือด้วยกันหัวเราะเยาะ ในการที่อ้างตนเป็นบุตรสุริยเทพ เฟอิทอนทั้งเคืองทั้งอับอายกลับมารบเร้าให้มารดาพาไปหาบิดา เพื่อให้ได้หลักฐานพิสูจน์ว่าตนเป็น บุตรเทพอพอลโลจริง นางไคลมินีจึงบอกทางให้บุตรเดินทางไปทางทิศตะวันออกจนกว่าจะถึงวังที่ประทับของอพอลโล ณ ที่นั้นจะได้พบกับบิดาสมประสงค์ เฟอิทอนรีบดั้นเดินทางโดยไม่หยุดพัก จนล่วงเข้าเขตวังของบิดา แม้ภูมิทำเลบริเวณวังจะงดงามตระการเพียงใด และตำหนักที่ประทับของอพอลโลก็เรืองวิจิตรน่า พรึงเพริดสักปานใด เฟอิทอนก็หาแยแสใส่ใจไม่ ฝ่ายอพอลโลเห็นกุมารเข้าไปใกล้ก็จำได้ว่าเป็นบุตร และเมื่อเฟอิทอนขึ้นถึงบัลลังก์ที่เธอประทับอยู่เธอก็ปฏิสันถารกับ เฟอิทอนอย่างบิดากับบุตร สั่งถามถึงธุระในการที่มาเฝ้า เฟอิทอนจึงทูลแถลงถึงเรื่องราวและความที่พึงประสงค์ พอจบเทพอพอลโลก็ออกอุทานวาจาว่า อนุญาตให้เฟอิทอนได้ ข้อพิสูจน์ตามแต่จะพึงประสงค์ พร้อมทั้งสาบานยืนยันมั่นคง โดยอ้างแม่น้ำสติกส์เป็นทิพยพยานอีกด้วย การสาบานโดยการอ้างชื่อแม่น้ำสติกส์นี้ เป็นการสาบานอันเคร่งครัดที่สุด ซึ่งลงว่าเทพองค์ใดลั่นสาบานแล้ว เทพองค์นั้นจะล่วงละเมิดไม่ได้เป็นอันขาด ถ้าเทพผู้ ล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตามสาบาน จะต้องเสวยน้ำในแม่น้ำนี้ซึ่งจะทำให้ปัญญาเสื่อมเศร้าหมองเป็นเวลา 1 ปี กับจะต้องถูกขับออกจากเขาโอลิมปัสและงดเสวยน้ำอมฤตอีก 9 ปี เฟอิทอนฟังคำสาบานดังนั้น จึงขออนุญาตขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาในวันนั้น เพื่อว่าโลกทั้งมวลจะได้ตระหนักชัดว่า เธอเป็นบุตรสุริยเทพสมจริงตามที่กล่าวอ้าง ก็ แหละรถพระอาทิตย์นั้ไม่ใช่ของสำหรับใครจะขับได้ ด้วยว่าผู้ที่สามารถควบคุมม้าเทียมทั้ง 4 แสนจะพยศที่ลากรถนั้นจะมีก็แต่เทพอพอลโลองค์เดียว เมื่อเฟอิทอนขออนุญาต ขับรถแทนอพอลโลก็ถึงแก่สะดุ้งประหวั่นเกรงจะเกิดเหตุยุ่งยากและเดือดร้อนไปทั่วโลกพิภพและจักรวาล จึงบ่ายเบี่ยงบอกเฟอิทอนให้ขอพรอย่างอื่น ฝ่ายเฟอิทอนมีจิต กำเริบดื้อดึงขึ้นมาเสียแล้ว คงยืนกรานที่จะขอขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาให้จงได้ ในที่สุดสุริยเทพซึ่งลั่นสาบานอันไม่พึงล่วงละเมิดออกไปเสียแล้วสุดที่จะบ่ายเบี่ยงต่อไปอีกได้ ก็จำต้องยอมอนุญาตให้เฟอิทอนขับรถพระอาทิตย์แทนได้ดังประสงค์ กำหนดเวลาออกรถดลมาถึงพร้อมแล้ว ม้าเทียมรถก็เตรียมเผ่นโผนโจนทะยานออกอยู่แล้ว นางประจำยามเข้าเคียงข้างรถอยู่พร้อมสรรพฝ่ายอุษาเทวีก็คอย อาณัติสัญญาณสั่งจากสุริยเทพ เตรียมไขทวารเบิกม่านฟ้าอยู่ทีเดียว ฝ่ายเทพอพอลโลจัดแจงชโลมเฟอิทอนด้วยของเย็นกันถูกแสงอาทิตย์แผดเผา พลางสั่งเฟอิทอนให้ขับรถรักษาเส้นทางโคจรเดิมไว้ให้ดี อย่าให้รถออกนอกทางเป็น อันขาด เธอสั่งย้ำซ้ำซากให้บุตรกวดขันระมัดระวังม้าเทียมโดยเคร่งครัดอย่างที่สุด และให้ใช้แส้แต่โดยออมชอมเท่านั้นด้วยว่ามันเป็นม้าที่พยศมาก หนุ่มน้อยฟังบิดาสั่งเสียอย่างระอิดระอา แล้วก็โดดขึ้นนั่งรถทองรวบสายบังเ!ยน ให้สัญญาณอุษาเทวีเปิดทวารและขับรถออกจากวังสุริยเทพด้วยความกระหยิ่ม ลำพองใจ ในชั่วโมงแรก ๆ เฟอิทอนสังวรในคำสั่งเสียของบิดา แต่แล้วความกำเริบเสิบสานเข้าครอบงำ ทำให้ลืมคำสั่งของบิดาเสีย เฟอิทอนขับรถเร็วขึ้นทุกทีจนรถออกนอก ทางโคจรไป ดวงจันทร์และดาราน้อยใหญ่พากันตื่นตระหนกที่ได้เห็นรถสุริยาทิตย์แล่นเตลิดไปกลางหาว แต่ก็ไม่มีปัญญาจะทำประการใดได้ และเฟอิทอนก็ขับรถใกล้โลก พิภพเข้ามาทุกที จนเป็นเหตุให้พืชพันธ์ทั้งปวงเ!่ยวแห้งตายหมด น้ำในแม่น้ำลำธารก็เหือดแห้ง แผ่นดินไหม้เกรียมจนเกิดควันโขมง ผู้คนของแผ่นดินนั้นถูกแสงอาทิตย์ แผดเผาจนตัวดำไปหมดสิ้น เป็นสีกายที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาแต่ครั้งนั้นจนถึงทุกวันนี้ และแผ่นดินที่ถูกรถสุริยาทิตย์เข้าใกล้ในครั้งนั้นก็คือ แอฟริกานั่นเอง เฟอิทอนตื่นตกใจในเหตุอันตนทำให้เป็นไปจึงลงแส้ม้าชักรถให้ถอยห่างจากโลก ม้าก็เผ่นโผนโจนทะยานเหออกห่างโลกเสียลิบลับ ทำให้พืชพันธ์ธัญญาหารที่เหลือ รอดจากความร้อนอยู่บ้าง กลับเ!่ยวเฉาตายลงอีกเพราะความหนาวจัดฉับพลัน ทั้งแผ่นดินแผ่นน้ำตอนนั้นก็มีน้ำแข็งปกคลุมทั่วไปหมด เสียงผู้คนร้องระงมดังขึ้นทุกที จนใน ที่สุดก็ปลุกซูสเทพบดีให้ตื่นจากบรรทมเล็งทิพยเนตรสืบสวนหาสาเหตุ ครั้นได้ความว่าเหตุเกิดจากเฟอิทอนบังอาจขับรถสุริยาทิตย์เช่นนั้น ไท้เธอก็พิโรธนัก คว้าอสนีบาต ฟาดไปที่เฟอิทอน บันดาลให้เฟอิทอนสิ้นชีวิตตกจากรถสุริยาทิตย์ลงสู่แม่น้ำ อีริดานัส ในพริบตา เฟอิทอนมีพี่สาวร่วมอุทร 3 คน เมื่อเฟอิทอนถึงแก่ความตาย นางทั้ง 3 ก็ไปร่ำไห้ที่ริมฝั่งแม่น้ำจนเทพทั้งปวงสงสารเลยแปลงนางเป็นต้นอำพันหลั่งน้ำตาเป็นอำพัน ตั้งแต่บัดนั้น ฝ่ายเพื่อนเล่นคู่หูคนหนึ่งของเฟอิทอนชื่อ ซิกนัส (Cygnus) ก็ลงงม หาศพ ดำผุดดำว่ายในแม่น้ำจนกลายเป็นต้นตะผมลหงส์เล่นน้ำสืบเชื้อสายพงศ์พันธุ์มา
จนตราบเท่าทุกวันนี้ ตำนานพฤกษชาติเกี่ยวกับเทพอพอลโล ในบรรดาเรื่องที่เกี่ยวกับเทพอพอลโลโดยตรงมีตำนานพฤกษชาติที่น่ารู้รวมอยู่ด้วย 2-3 เรื่อง เรื่องหนึ่งได้แก่ ตำนาน ต้นชัยพฤกษ์ ซึ่งชาวกรีกถือว่าเป็นต้นไม้คู่บารมีของสุริยเทพทีเดียว เรื่องหนึ่งคือตำนานของต้นไม้น้ำ ที่เราเรียกว่า ผักตบ กับตำนาน ต้นสนป่า และอีกเรื่องหนึ่งเป็น ตำนานต้นทานตะวัน ตำนานต้นชัยพฤกษ์นั้น อยู่ในเรื่องเกี่ยวกับนาง แดฟนี (Daphne) ซึ่งเป็นนางอัปสร รูปงามธิดาของ พีนูส (Peneus) เทพประจำแม่น้ำตามเรื่องเล่าว่า อพอลโลได้พบนางในกลางป่า ให้บังเกิดความพิสมัย จึงเยื้องกราย เข้าหาหมายจะแทะโลม แต่ไม่ทันถึงนางก็วิ่งหนีไปเสียแล้ว ฝ่าย อพอลโลอารามที่ลืมไม่ว่า อะไรอื่นทั้งสิ้นจึงวิ่งตาม วิ่งพลางร้องเรียกให้นางแดฟนีหยุดแม้ชั่วขณะหนึ่ง เท่านั้นก็ตามที เธอสัญญาว่าจะไม่ทำอันตรายเลย นางอัปสรไม่ยอมฟังคำสัญญาหรือวิงวอน ตั้งหน้าแต่รุดหนีอย่างเดียว ฝ่ายอพอลโลก็วิ่งกวด ตามไปโดยไม่ลดละ จนนางแดฟนีเริ่มอ่อนกำลังและตระหนักว่า ฝ่ายไล่กำลังรุกกระชั้นเข้าไปทุกที นางจึงวิ่งหนีกระหืดกระหอบอกสั่นลงยังริมฝั่งแม่น้ำของบิดา ขอให้แปลงร่างนางเสีย หรือบันดาลให้ นางจมลงไปในปฐพี ยังมิทันที่นางจะถึงริมฝั่งน้ำดี นางก็รู้สึกเหมือนหนึ่งตัวเองถูกตรึงติดกับพื้น ด้วย เท้าหยั่งลงในดินเป็นราก ผมและมือก็งอกออกเป็นใบ ส่วนเครื่องคลุมกายกลายเป็นเปลือกไม้ ปกคลุมร่างอันสั่นเทาของนางไป บิดาของนางตอบสนองการที่นางร้องให้ช่วยแล้ว โดยเปลี่ยนนางเป็น ต้นชัยพฤกษ์อยู่ ณ ที่นั้น ฝ่ายอพอลโลตามมาทันไม่เห็นนาง เห็นแต่ต้นไม้ ครั้งแรกเธอไม่รู้สึกเลยว่า สาวเจ้าลับจาก เธอไปแล้ว โดยไม่มีวันจะได้พบอีก แต่เมื่อความจริงเป็นที่ปรากฏดังนั้น เธอจึงมีเทพบรรหารว่า นับ แต่บัดนี้ต้นชัยพฤกษ์ จงเป็นต้นไม้ที่โปรดปรานของเธอ อันคนหลายคนพึงเด็ดช่อใบร้อยพวงมาลา เป็นรางวัลแก่กวีและนักดนตรีสืบไป เรื่องอพอลโลกับนางแดฟนีนี้ นอกจากจะแสดงตำนานของต้นชัยพฤกษ์แล้ว ยังเป็นนิทาน อุปมาถึงปรากฏการณ์ของธรรมชาติ ที่เกิดเป็นประจำวันเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ (อพอลโล) และน้ำค้าง (แดฟนี) อีกโสดหนึ่งด้วย กล่าวคือยามดวงอาทิตย์ทอแสงลงมาเยี่ยมโลกเมื่อรุ่งอรุณ น้ำค้างที่ยังเหลือ อยู่ตามใบไม้ ใบหญ้า และตามพื้นดินก็หายไปดุจดังนางแดฟนีหนีลับจากอพอลโล ตามท้องเรื่องที่เล่า มาแล้วฉะนั้ ต่อไปนี้จะเล่าตำนานผักตบและต้นสนป่า ตามท้องเรื่องที่เล่าสืบ ๆ มา ในเทพปกรณัมของกรีกว่า อพอลโล มีมนุษย์เป็นเพื่อนที่สนิทเสน่หาอย่างยิ่งคนหนึ่งชื่อว่า ไฮยาซินทัส (Hyacinthus) และมานพนี้ก็เป็นเพื่อนกับ เสฟไฟรัส (Zephyrus) เทพ ประจำลมตะวันตกด้วย เสฟไฟรัสมีความริษยาสุริยเทพ และเคืองแค้นไฮยาซินทัส ในการที่สนิทสุริยเทพยิ่งกว่าตน วันหนึ่งอพอลโลกับไฮยาซินทัสเล่นทอยห่วงเหล็กกัน เสฟไฟรัสผ่านมาพบเข้า จึงคิดแกล้งให้อพอลโลโทมนัสโดยทำให้ไฮยาซินทัสตายเสีย เสฟไฟรัสก็แกล้งเป่าเหล็กของอพอลโลโดยแรงให้ถูกคู่เล่นล้มลง ฝ่ายอพอลโลเห็นเหตุ นั้นจึงกระทำปฐมพยาบาลห้ามเลือดซึ่งไหลออกจากแผลไฮยาซินทัส แต่เลือดก็หาหยุดไหลไม่ ไฮยาซินทัสทนพิษบาดแผลไม่ได้ จึงสิ้นใจลงในขณะนั้นเอง อพอลโลโทมนัสในการตายของปิยมิตรยิ่งนัก และเพื่อให้เป็นเครื่องระลึกถึงปิยมิตรผู้ตายเธอจึงบันดาลให้เลือดของไฮยาซินทัสที่ตกกองอยู่นั้นเป็นกอดอกไม้ เรียกว่า ไฮยาซิน (ผักตบ) ตามชื่อเจ้าของเลือดตั้งแต่นั้นมา ภายหลังมรณะกรรมของไฮยาซินทัส อพอลโลหันไปคบมนุษย์เป็นเพื่อนอีกคนหนึ่งเพื่อให้หายโศก มานพนี้เป็นพรานหนุ่มที่เฉลียวฉลาด มีชื่อว่า ไซพาริสสัส (Cyparissus) แต่รายนี้ก็อีก เป็นมิตรภาพที่มีอันต้องสิ้นสุดลงด้วยความเศร้าโศก เป็นข้อยืนยันว่า อพอลโลมีความอาภัพในมิตรภาพ กล่าวคือ ไซพาริสสัส บังเอิญฆ่า ลูกกวางที่อพอลโลเลี้ยงไว้ ให้เสียใจนัก ไม่เป็นอันกินอันนอนจนซูบผอมลงไปทุกที และในที่สุดก็ตายด้วยความตรอมใจ อพอลโลจึงประสาทให้ร่างอันปราศจากชีวิตของ ไซพาริสสัสกลายเป็นต้นสนป่า และบรรหารว่าสืบแต่นั้นให้ต้นสนป่าจงเป็นต้นไม้สำหรับความร่มรื่นให้เกิดแก่หลุมศพของคนผู้เป็นที่รักของญาติมิตรต่อไป หน้าที่สำคัญที่อพอลโลปฏิบัติอยู่เป็นประจำวันนั้นได้แก่ การขับรถพระอาทิตย์ ขึ้นจากฟากมหาสมุทรเมื่อรุ่งอรุณโคจรไปตามสุริยวิถี ผ่านฟากฟ้าโดยไม่หยุดพักเลย จนถึงเรือทองที่จะจอดคอยเธอในทิศตะวันตก เมื่อสิ้นวันแล้วอพอลโลจึงลงเรือกลับคืนตำหนักสู่วังที่ประทับในทิศตะวันออก รอวันใหม่วนเวียนอยู่ดังนี้ทุกวันเป็นเนืองนิตย์ ยังมีนางอัปสรประจำน่านน้ำ ธิดาของโอเชียนัสกับนางเทวีทีธิสชื่อว่า ไคลที (Clytie) นางหลงใหลใฝ่ฝันในเทพอพอลโลอยู่ คอยเฝ้าดูการโคจรประจำวันของสุริย เทพทุกวัน แต่อพอลโลจะไยดีกับนางก็หาไม่ ถึงกระนั้นนางก็เฝ้าดูเธอทุกวัน นับตั้งแต่วาระเมื่อเธอทรงรถออกจากวังยามเช้าไปจนกระทั่งเธอโคจรถึงทะเลฟากตะวันตก โดย ผินหน้าตามไปมิให้อพอลโลคลาดจากสายตา หวังว่าสักวันหนึ่งอพอลโลคงจะบังเกิดความปฏิพัทธ์เสน่หานางบ้าง นางไคลทีสู้ทนเฝ้าคอยอยู่ดังนั้นเป็นเวลานานไม่ยอมละสาย ตาจากอพอลโลไปมองดูอื่น ในที่สุดเทพทั้งปวงมีความสงสาร จึงเปลี่ยนนางเป็นต้นทานตะวันชูดอกผินตามดวงอาทิตย์ตั้งแต่เช้าจนเย็นเป็นประจำมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ บริวารของอพอลโล อพอลโลมีบริวารที่ควรกล่าวถึงอยู่เหล่าหนึ่ง ได้แก่ คณะศิลปวิทยาเทวี ซึ่งภาษาอังกฤษ เรียกว่า The Muses เป็นเทวีประจำศิลปวิทยาการต่าง ๆ เกิดแต่ซูสเทพบดีกับนางนีโมซินี (Mnemosyne เทวีครองความจำ) มี 9 องค์ มีชื่อและวิชาการเกี่ยวข้องดังนี้ - ไคลโอ (Clio) ประจำประวัติศาสตร์ - ยูเรเนีย (Urania) ดาราศาสตร์ - เมลโพมีนี (Melpomene) เรื่องโศก(tragedy) - ธะไลอะ (Thalia) เรื่องสรวล (comedy) - เทิร์ปซิโครี (Terpsichore) การฟ้อนรำ - คัลลิโอพี (Colliope) บทกวีเรื่อง - เออระโต (Erato) บทกวีรัก - ยูเทอร์พี (Euterpe) บทกวีร้อง - โพลิฮิมเนีย (Polyhymnis) บทกวีร่ายอาศิรพจน์ ...แต่บริวารที่ใกล้ชิดเธอที่สุด คือ อีออส (Eos) หรือ ออโรรา (Aurora) เป็นเทวีครองแสงเงินแสงทอง หรืออุษาเทวี ทำหน้าที่เปิดทวารมุกดา ยามอรุณรุ่งให้รถอพอลโลออก โคจร และพร้อมกันนั้นก็ไขแสงเงินแสงทอง เป็นสัญญาณเบิกทางโคจรของอพอลโลขึ้นด้วย เทพอพอลโล Apollo ...อพลโล (Apollo) เทพคู่แฝดผู้น้องของเทวีอาร์เตมิส คือเทพครองดวงอาทิตย์ ซึ่งภายหลังชาวกรีกและโรมันถือว่า เป็นดวงอาทิตย์ทีเดียว เหมือนอย่างที่ถืออาร์เตมิสเป็นดวงจันทร์ฉันนั้น ในชั้นดั้งเดิมสุริยเทพของกรีกคือ ฮีลิออส(Helios) ซึ่งเป็นบุตรของโอเพอร์เรียน (Hyperion) ในคณะเทพไทแทน แต่เมื่อคณะเทพไทแทนสิ้นอำนาจ ชาวกรีกจึงนับถือเทพ อพอลโลแทนสืบต่อมา เมื่อนาง แลโตนา มารดาของอพอลโล ถูกกระทำด้วยความหึงของเจ้า แม่ฮีรา เพราะเหตุเป็นที่ปฏิพัทธ์เสน่หาของ ซูส ต้องอุ้มครรภ์ หนีงู ไพธอน (Python) ของเจ้าแม่ ซอกซอนไปไม่มีที่จะให้ประสูติบุตรในครรภ์ได้จน ถึงเกาะดีลอส (Delos) เทพโปเซดอน มี ความสงสารบันดาลให้เกาะน้อยผุดขึ้นในทะเล นางจึงให้ประสูติอพอลโลกับอาร์เตมิส บนเกาะ นั้น ในทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา อพอลโลก็จับงูไพธอนฆ่าเสีย ด้วยเหตุนี้ บางทีอพอลโลก็เป็นที่เรียก ขานว่า ไพธูส (Pytheus) แปลว่า "ผู้ประหารไพธอน" นอกจากนี้อพอลโลยังมีชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อ มีชื่อตาม สถานที่เกิดว่า ดีเลียน (Felian) ฟีบัส (Phoebus) แปลว่า "โอภาส" หรือ "ส่องแสง" เป็นอาทิ ชื่อหลังนี้มัก ใช้บวกกับชื่อประจำว่า ฟีบัส อพอลโล เนือง ๆ เมื่อให้ประสูติบุตรแล้ว นางแลโตนาก็ยังไม่พ้นการรังควานของเจ้าแม่ฮีรา ต้องดั้นด้นเซซังต่อไปจนถึงแคว้น เคเรีย (Caria) ซึ่งอยู่ ในเอเซียไมเนอร์ปัจจุบันนี้ นางจำเป็นต้องหยุดพัก ณ ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งด้วยโรยกำลัง และขอดื่มน้ำจาก พวกชาวบ้าน ที่ออกมาถอนหญ้า คาอยู่ในบริเวณนั้น พวกชาวบ้านแทนที่จะสมเพชสงสารกลับ ไล่ตะเพิดและด่าทอนางด้วยคำ หยาบช้า ทำให้ซูสเทพบดีกริ้วจัดนัก ถึงแก่ สาปชาวบ้านเหล่านั้นให้กลายเป็นกบไปทั้งหมด ตำนานเรื่องนี้เห็นจะแสดงว่าใน ละแวกนั้นมีกบ ชุม และกบปัจจุบันอาจสืบเชื้อสายจากชาว บ้านที่ถูกสาปเหล่านั้นก็เป็นได้ อพอลโลเป็นเทพที่ชาวกรีกถือว่ามีรูปงามยิ่ง และเป็นนักดนตรีผู้ขับกล่อมเทพทั้งปวงบนเขาโอลิมปัส ด้วยพิณถือของเธอ นอกจากนี้เธอยังมีคันธนูซึ่งยิงได้ไกล จึงได้สมญานามว่า เทพขมังธนู ใช่แต่เท่านั้นเมื่อไร เธอยังเป็นเทพผู้ถ่ายวิชาโรคศิลป์ ให้แก่มนุษย์เป็นปฐม เป็นเทพแห่งแสงสว่างผู้ขจัดความมืดและเป็นเทพแห่ง สัจธรรมผู้ไม่เคยเอ่ยวาจาเท็จอีกด้วย วิหารของเทพอพอลโลนั้น มีอยู่ดาษดื่นทั่วไปในประเทศแต่ที่สำคัญที่สุดได้แก่วิหาร ณ เมืองเดลฟี ใกล้ทิวเขาพาร์นาซัส รูปอนุสาวรีย์ โคลอสซัส (Colosus) ที่เขาสร้างอุทิศแด่เธอ ณ เกาะ โรดส์ (Rhodes) นั้นเป็นสิ่งหนึ่งในสิ่งอัศจรรย์ทั้ง 7 ของโลกสมัยโบราณทีเดียว เทพอพอลโลได้สำแดงวีรกรรมสังหารผลาญชีวิตคนพาลมากมาย นอกจากเคยฆ่างู ยักษ์ไพธอนจนมีชื่อ เสียงมหาศาลแล้ว ยังสามารถสังหารยักษ์ อโลอาดี (Aloadae) และ อีฟิอัลทิส(Ephialtes) ซึ่งเป็นเชื้อสายของ วงศ์ไทแทนคิดล้มซูสเทพบดีเพื่อฟื้นวงศ์ไทแทนคืนมา เป็นต้น แต่มีครั้งหนึ่งที่อพอลโลยังไม่อาจเอาชนะมนุษย์ คนหนึ่งได้จนร้อนถึงไท้เทพซูสต้องออกมาประนีประนอม บุรุษเดินดินคนนั้นนามว่า เฮอร์คิวลิส หรือ เฮลาคลิสนั่นเอง เหตุเกิดเพราะเฮอร์คิวลิสไปขอคำพยากรณ์ที่วิหารเดลฟีแล้ว ได้รับคำทำนายไม่ถูกใจ จึงล้มโต๊ะ พิธีใน วิหารแล้วฉวยเอากระถางธูปไป เทพอพอลโลรีบรุดตามไปท้าเล่นมวยปล้ำเพื่อชิงเอากระถางคืน ปล้ำกันอยู่ นานไม่อาจรู้แพ้ชนะ ชะรอยซูสเห็น ท่าว่าขืนปล่อยไว้นานอพอลโลอาจจะเสียเปรียบพ่ายแพ้แก่มนุษย์เข้าได้ และ อาจเสียหน้าวงศ์เทพแน่ จึงเสด็จลงไปห้ามปรามให้เลิกราต่อกัน ขอให้เฮอร์คิวลิสคืนกระถางธูปแก่อพอลโล แล้วให้ เลิกราเรื่องบาดหมางต่อกัน เรื่องราวก็เลยจบลงด้วยดี เทพอพอลโลมีอุปนิสัยไม่ยอมแพ้ใครอยู่ไม่น้อย เห็นได้จากที่ไปแข่งเป่าขลุ่ยกับมาไซยาส์ซึ่งเป็นเทพชั้นรอง แล้วตั้งกรรมการตัดสินว่าผู้ใดเป่าเก่งกว่ากัน พระเจ้าไมดาส (Midas องค์ที่จับอะไรก็กลายเป็นทอง) เกิดตัดสินเข้าข้างมาไซยาส์ เพียงเท่านี้ อพอลโลก็ไม่ฟังอะไรอีก จึงสาปให้ไมดาสมีหูเป็นลาไปทันที ตามเรื่องต่าง ๆ ที่เธอมีบทบาทอยู่ อพอลโลดูจะเป็นเทพใจสูงกว่าองค์อื่น ๆ แต่ถึงกระนั้นก็มีอยู่ 2-3 เรื่อง ที่แสดงให้เห็นความโหดเ!้ยมดุร้ายของเธอดังเราจะเห็น จากเรื่องต่อไปนี้ การลงโทษนางไนโอบี เทพอพอลโลกับเทวีอาร์เตมิสเป็นที่สวาสดิ์ภาคภูมิใจของมารดายิ่งนัก นางถึงแก่โอ้อวดคุยฟุ้งเฟื่องไปไกลว่าจะหาบุตรใครเสมอบุตรของนางเห็นจะไม่มีอีกแล้ว ไม่ว่าจะเปรียบกันในเชิงสิริรูป สติปัญญา หรือพลังอำนาจ ก็ต้องแพ้บุตรของนางหลุดลุ่ย ความนี้เลื่องลือไปถึงนาง ไนโอบี (Niobe) ซึ่งเป็นธิดาของท้าว แทนทะลัส (Tantalus) และมเหสีเจ้ากรุง ธีบส์ (Thebes) นางไนโอบีกลับหัวเราะเยาะและค่อนว่า นางแลโตยามีลูกจะอวดกับเขาแต่เพียง 2 เท่านี้หรือ ส่วนนางเองสิมีถึง 14 เป็นชาย 7 ล้วนแต่มีรูปกำยำงามสง่า และเป็นหญิงล้วนแต่ทรงโฉมวิลาสวิไลถึง 7 นางไนโอบีลั่นวาจาก้าวร้าวสบประมาทนางแลโตนาอีกเป็นอันมาก ซ้ำยังกำเริบเสิบสานถึงแก่ห้ามชาวเมือง ของนางกระทำบูชาเทพอพอลโลและเทวีอาร์เตมิส แถมบังอาจสั่งให้ทำลายรูปเคารพเทพและเทวีคู่นี้จากแท่นที่บูชา ในอาณาจักรของนางอีกด้วย นางแลโตนาโกรธแค้นหนักหนาในการที่ถูกหยามหยาบถึงเพียงนี้ จึงเรียกบุตรและ ธิดาเคียงข้าง และสั่งให้ออกตามฆ่าบุตรและธิดาของนางไนโอบีเสียให้สิ้น เทพบุตรเทพธิดาคู่แฝดอยู่ในอารมณ์ขึ้งเคียดเต็มที่ จึงขมีขมันออกไปตามคำสั่งทันที อพอลโลพบมานพทั้ง 7 ออกล่า! จึงประหารเสียด้วยลูกธนูตายหมดทั้ง 7 คน เมื่อข่าวการตายของบุตรรู้ไปถึงนางไนโอบี นางก็โศกเศร้า โทมนัสนัก ฝ่ายเจ้ากรุงธีบส์สวามีก็ทำลายตัวเองสิ้นไปด้วยอีกคนหนึ่ง ยังเหลือธิดาทั้ง 7 ยังไม่ทันที่มารดาจะวายโศก ก็ถูกเทวีอาร์เตมิสจองประหารอีก มิใยสาวผู้ถึงฆาตทั้ง 7 จะพยายามหนีให้พ้นลูกธนูของเจ้าแม่แห่งนายพรานอย่างไร ๆ ก็ไม่สำเร็จ แม้นาง ไนโอบีจะพยายามปกป้องลูก และอ้อนวอนขอความอารักขาคุ้มครองจากทวยเทพบนเขาโอลิมปัสสักเท่าใดก็ไม่เป็น ผล ธิดาของนางต้องศรล้มกลิ้งตายกันระเนระนาด ที่สุดจนนางที่ซุกอยู่ระหว่างอุระของมารดา เทวีอาร์เตมิสผู้อาฆาตก็ไม่ละเว้น ลูกธนูของเจ้าแม่แล่นเข้าเป้าเสียบนางนั้น ให้วายชีวิตไปแทบอุระของมารดาจนได้ นางไนโอบีสูญสิ้นทั้งสามีและบุตรธิดาที่มาดหมายเหลือแต่นางเดียวดายถึงไม่ตายก็เหมือนตาย ความเศร้ารันทดหนุนเนื่องประดังขึ้นมาแน่นอุระ นางก็แข็งชาไปทั้ง ร่างกาย มิอาจจะขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวได้ อนิจจา! ร่างของนางกลายเป็นหินตื้อตันไปหมด คงอยู่แต่หยาดน้ำตารินไม่สิ้นสุด แต่วันนั้นมาจนวันนี้ น้ำตานางจะหยุดไหลก็หา ไม่ ส่วนรูปหินของนางไนโอบีก็ยังปรากฏอยู่บนเขา ไซปิลัส (Sipylus) จนตราบเท่าทุกวันนี้ นักเทพปกรณัมวิทยาเขาว่ากันว่า เรื่องนี้ก็คือ ตำนานเปรียบเทียบถึงอำนาจของแสงอาทิตย์เมื่อสิ้นฤดูหนาว ซึ่งนางไนโอบีนั้นหมายถึงฤดูหนาว บุตรทั้ง 7 คือระยะ กาลแห่งความหนาว และลูกธนูของอพอลโลก็คือแสงอาทิตย์ อพอลโลถูกเนรเทศ เมื่อยังเยาว์อพอลโลเที่ยวไปตามแว่นแคว้นต่าง ๆ ทางทิศเหนือของประเทศกรีซ มีดินแดนของชนชาติไฮเพอร์โบเรียนและแคว้นเธสสะลีเป็นต้น เธอเที่ยวผูก สมัครรักใคร่หญิงทั่วไปตามวิสัยหนุ่มรุ่น ในแคว้นเธสสะลีมีสาวเจ้าคนหนึ่งงามนัก ชื่อว่า โครอนนิส (Coronis) เป็นธิดาเจ้าแห่งแคว้นนั้น อพอลโลผูกสมัครรักใคร่ได้ เสียกับนางจนเกิดบุตรด้วยกันคนหนึ่ง แต่นางกลับปรากฏว่าเป็นหญิงหลายใจ ในระหว่างที่นางมีครรภ์ อพอลโลให้นกดุเหว่าขนขาวปลอดตัวหนึ่งเฝ้านางไว้ เมื่อนางคบชู้ นกก็ไปบอกข่าวแก่เทพผู้เป็นนาย อพอลโลบันดาลโทสะ พลอยสาปนกซึ่ง บอกข่าวอัปมงคลให้กลับมีขนสีดำไป ดังนั้นนกดุเหว่าจึงมีขนสีดำตั้งแต่นั้นมา ส่วนนางโครอนนิสถูกฆ่า ว่ากันว่าด้วยน้ำมือของเทพอพอลโลเองบ้าง ด้วยคมศรของเจ้าแม่ อาร์เตมิสบ้าง แต่บุตรในครรภ์ซึ่งจวนจะครบกำหนดคลอดนั้นรอดตาย ด้วยอพอลโล(บ้างก็ว่าเฮอร์มีส) เอาออกจากครรภ์ ตอนเผาศพนางโครอนนิส แล้วมอบให้แก่ ไครอน (Chiron) ผู้มีชาติเป็นอมนุษย์ เซนทอร์ (Centaur) เป็นผู้เลี้ยงดู ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ ไครอนนี้เป็นอาจารย์ผู้ปราดเปรื่อง เชี่ยวชาญในวิชาการต่าง ๆ มีวิชาดนตรี เภสัชกรรมวิทยา และวิชาธนูศิลป์ เป็นต้น เป็นที่นับถือของชาวกรีกโบราณว่า เป็นผู้ สอนมนุษย์ให้รู้จักใช้พืชสมุนไพรทำยา และเป็นอาจารย์ของวีรบุรุษคนสำคัญ ๆ ในเทพปกรณัมมากมาย เช่น อคิลีส, เฮอร์คิวลีส, เยสัน, พีลูส, อีเนียส และคนอื่น ๆ อีก ในตอนปลายอายุถูกเฮอร์คิวลีสยิงด้วยธนูอาบยาพิษ โดยความสำคัญผิดของเฮอร์คิวลีสในระหว่างที่ตามล้างเซนทอร์พวกหนึ่ง แม้เฮอร์คิวลิสจะช่วยแก้ไขให้รอดตาย และ ไครอนแม้จะเป็นหมออยู่กับตัว แต่ก็ไม่สามารถถอนพิษยาได้ พิษยาบันดาลให้ไครอนเจ็บปวดรวดร้าวนักหนา ซูสเทพบดีจึงโปรดให้กลายเป็นดาวอยู่ในกลุ่มดาวชื่อ แซชจิเตริอัส (Sagitarius) บุตรของเทพอพอลโล ที่อาจารย์ไครอนรับฝากไว้นั้นได้ขนานชื่อว่า เอสคิวเลปิอัส (Aesculapius) เป็นเด็กฉลาดเฉลียวมีความเข้าใจแตกฉานและเป็น ที่รักของอาจารย์อย่างยิ่งวิชาที่เขาใส่ใจศึกษาที่สุดได้แก่ โรคศิลป์ เพราะฉะนั้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขี้น เขาจึงกลายเป็นหมอบำบัดโรคผู้มีความสามารถยิ่ง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสในการบำบัดโรคนั้นยิ่งกว่าของอาจารย์มาก ด้วยที่สามารถบำบัดโรคและความป่วย ไข้ได้ทุกชีวิต ซึ่งไครอนเองทำไม่ได้ ในไม่ช้าชื่อ เสียงของเอสคิวเลปิอัสก็เลื่องลือไปไกล ไม่ว่าใครจะเจ็บไข้ได้ป่วย หนักหนาสาหัส หรือเล็กน้อย ถ้าได้รับการบำบัดจากเขาแล้วก็ทุเลาลงอย่างรวดเร็ว จนกล่าวได้ว่าหายวันหายคืนเลย ทีเดียว ผู้คนพากันไปขอรับการบำบัดโรค ณ สำนักของเขา ทั้งจากใกล้และไกลทุกทิศทาง นับว่าการบำเพ็ญประโยชน์ของ เอสคิวเลปิอัสแผ่ไพศาลยิ่ง ทั้งโดยเนื้อ นาบุญและโดยระยะทาง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสเป็นที่เลื่องลือไปจนว่ากันว่า ครั้งหนึ่งเขาสามารถแก้คนตายให้ฟื้นได้ อัน เป็นเหตุ ให้เทพปริณายกซูส กับเทพฮาเดส เจ้าแห่งแดนคนตายเดือดร้อน ทั้งริษยาและหวั่นเกรงในอำนาจ บารมีของ เอสคิวเลปิอัส หากปล่อยไว้นานไปเบื้องหน้าจะทำให้มนุษย์กำเริบอีก เห็นว่าจะละไว้มิได้ ซูสจึงประหาร เอสคิวเลปิอัส ด้วยอสนีบาต เทพอพอลโลบันดาลโทสะกล้าในการตายของบุตร แต่ไม่รู้จะโกรธเอากับเทพบิดาอย่างไร จึงหันไปไล่ เบี้ยเอากับช่างประกอบอสนีบาตถวายซูส คือ เทพฮีฟีสทัส กับยักษ์ไซคลอปส์ เธอน้าวคันธนูเงินมุ่งจะยิงธนู สังหารยักษ์ไซคลอปส์เสียให้สมแค้น แต่ซูสไม่ยอมให้อพอลโลทำเช่นนั้นได้ และเพื่อจะลงโทษบุตรในความ อุกอาจดังนี้ ไท้เธอจึงเนรเทศอพอลโลให้ลงมาอยู่ในมนุษย์โลก และให้เป็นข้าของมนุษย์เป็นเวลา 1 ปีเสียก่อน จึงจะพ้นโทษ เรื่องของเฟอิทอน นอกจากเอสคิวเลปิอัสแล้ว อพอลโลยังมีบุตรอีกคนหนึ่ง แต่เกิดกับนางอัปสร ไคลมินี (Clymene) ชื่อเฟอิทอน (Phaeton) วันหนึ่งเฟอิทอนถูก เพื่อนเรียนหนังสือด้วยกันหัวเราะเยาะ ในการที่อ้างตนเป็นบุตรสุริยเทพ เฟอิทอนทั้งเคืองทั้งอับอายกลับมารบเร้าให้มารดาพาไปหาบิดา เพื่อให้ได้หลักฐานพิสูจน์ว่าตนเป็น บุตรเทพอพอลโลจริง นางไคลมินีจึงบอกทางให้บุตรเดินทางไปทางทิศตะวันออกจนกว่าจะถึงวังที่ประทับของอพอลโล ณ ที่นั้นจะได้พบกับบิดาสมประสงค์ เฟอิทอนรีบดั้นเดินทางโดยไม่หยุดพัก จนล่วงเข้าเขตวังของบิดา แม้ภูมิทำเลบริเวณวังจะงดงามตระการเพียงใด และตำหนักที่ประทับของอพอลโลก็เรืองวิจิตรน่า พรึงเพริดสักปานใด เฟอิทอนก็หาแยแสใส่ใจไม่ ฝ่ายอพอลโลเห็นกุมารเข้าไปใกล้ก็จำได้ว่าเป็นบุตร และเมื่อเฟอิทอนขึ้นถึงบัลลังก์ที่เธอประทับอยู่เธอก็ปฏิสันถารกับ เฟอิทอนอย่างบิดากับบุตร สั่งถามถึงธุระในการที่มาเฝ้า เฟอิทอนจึงทูลแถลงถึงเรื่องราวและความที่พึงประสงค์ พอจบเทพอพอลโลก็ออกอุทานวาจาว่า อนุญาตให้เฟอิทอนได้ ข้อพิสูจน์ตามแต่จะพึงประสงค์ พร้อมทั้งสาบานยืนยันมั่นคง โดยอ้างแม่น้ำสติกส์เป็นทิพยพยานอีกด้วย การสาบานโดยการอ้างชื่อแม่น้ำสติกส์นี้ เป็นการสาบานอันเคร่งครัดที่สุด ซึ่งลงว่าเทพองค์ใดลั่นสาบานแล้ว เทพองค์นั้นจะล่วงละเมิดไม่ได้เป็นอันขาด ถ้าเทพผู้ ล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตามสาบาน จะต้องเสวยน้ำในแม่น้ำนี้ซึ่งจะทำให้ปัญญาเสื่อมเศร้าหมองเป็นเวลา 1 ปี กับจะต้องถูกขับออกจากเขาโอลิมปัสและงดเสวยน้ำอมฤตอีก 9 ปี เฟอิทอนฟังคำสาบานดังนั้น จึงขออนุญาตขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาในวันนั้น เพื่อว่าโลกทั้งมวลจะได้ตระหนักชัดว่า เธอเป็นบุตรสุริยเทพสมจริงตามที่กล่าวอ้าง ก็ แหละรถพระอาทิตย์นั้ไม่ใช่ของสำหรับใครจะขับได้ ด้วยว่าผู้ที่สามารถควบคุมม้าเทียมทั้ง 4 แสนจะพยศที่ลากรถนั้นจะมีก็แต่เทพอพอลโลองค์เดียว เมื่อเฟอิทอนขออนุญาต ขับรถแทนอพอลโลก็ถึงแก่สะดุ้งประหวั่นเกรงจะเกิดเหตุยุ่งยากและเดือดร้อนไปทั่วโลกพิภพและจักรวาล จึงบ่ายเบี่ยงบอกเฟอิทอนให้ขอพรอย่างอื่น ฝ่ายเฟอิทอนมีจิต กำเริบดื้อดึงขึ้นมาเสียแล้ว คงยืนกรานที่จะขอขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาให้จงได้ ในที่สุดสุริยเทพซึ่งลั่นสาบานอันไม่พึงล่วงละเมิดออกไปเสียแล้วสุดที่จะบ่ายเบี่ยงต่อไปอีกได้ ก็จำต้องยอมอนุญาตให้เฟอิทอนขับรถพระอาทิตย์แทนได้ดังประสงค์ กำหนดเวลาออกรถดลมาถึงพร้อมแล้ว ม้าเทียมรถก็เตรียมเผ่นโผนโจนทะยานออกอยู่แล้ว นางประจำยามเข้าเคียงข้างรถอยู่พร้อมสรรพฝ่ายอุษาเทวีก็คอย อาณัติสัญญาณสั่งจากสุริยเทพ เตรียมไขทวารเบิกม่านฟ้าอยู่ทีเดียว ฝ่ายเทพอพอลโลจัดแจงชโลมเฟอิทอนด้วยของเย็นกันถูกแสงอาทิตย์แผดเผา พลางสั่งเฟอิทอนให้ขับรถรักษาเส้นทางโคจรเดิมไว้ให้ดี อย่าให้รถออกนอกทางเป็น อันขาด เธอสั่งย้ำซ้ำซากให้บุตรกวดขันระมัดระวังม้าเทียมโดยเคร่งครัดอย่างที่สุด และให้ใช้แส้แต่โดยออมชอมเท่านั้นด้วยว่ามันเป็นม้าที่พยศมาก หนุ่มน้อยฟังบิดาสั่งเสียอย่างระอิดระอา แล้วก็โดดขึ้นนั่งรถทองรวบสายบังเ!ยน ให้สัญญาณอุษาเทวีเปิดทวารและขับรถออกจากวังสุริยเทพด้วยความกระหยิ่ม ลำพองใจ ในชั่วโมงแรก ๆ เฟอิทอนสังวรในคำสั่งเสียของบิดา แต่แล้วความกำเริบเสิบสานเข้าครอบงำ ทำให้ลืมคำสั่งของบิดาเสีย เฟอิทอนขับรถเร็วขึ้นทุกทีจนรถออกนอก ทางโคจรไป ดวงจันทร์และดาราน้อยใหญ่พากันตื่นตระหนกที่ได้เห็นรถสุริยาทิตย์แล่นเตลิดไปกลางหาว แต่ก็ไม่มีปัญญาจะทำประการใดได้ และเฟอิทอนก็ขับรถใกล้โลก พิภพเข้ามาทุกที จนเป็นเหตุให้พืชพันธ์ทั้งปวงเ!่ยวแห้งตายหมด น้ำในแม่น้ำลำธารก็เหือดแห้ง แผ่นดินไหม้เกรียมจนเกิดควันโขมง ผู้คนของแผ่นดินนั้นถูกแสงอาทิตย์ แผดเผาจนตัวดำไปหมดสิ้น เป็นสีกายที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาแต่ครั้งนั้นจนถึงทุกวันนี้ และแผ่นดินที่ถูกรถสุริยาทิตย์เข้าใกล้ในครั้งนั้นก็คือ แอฟริกานั่นเอง เฟอิทอนตื่นตกใจในเหตุอันตนทำให้เป็นไปจึงลงแส้ม้าชักรถให้ถอยห่างจากโลก ม้าก็เผ่นโผนโจนทะยานเหออกห่างโลกเสียลิบลับ ทำให้พืชพันธ์ธัญญาหารที่เหลือ รอดจากความร้อนอยู่บ้าง กลับเ!่ยวเฉาตายลงอีกเพราะความหนาวจัดฉับพลัน ทั้งแผ่นดินแผ่นน้ำตอนนั้นก็มีน้ำแข็งปกคลุมทั่วไปหมด เสียงผู้คนร้องระงมดังขึ้นทุกที จนใน ที่สุดก็ปลุกซูสเทพบดีให้ตื่นจากบรรทมเล็งทิพยเนตรสืบสวนหาสาเหตุ ครั้นได้ความว่าเหตุเกิดจากเฟอิทอนบังอาจขับรถสุริยาทิตย์เช่นนั้น ไท้เธอก็พิโรธนัก คว้าอสนีบาต ฟาดไปที่เฟอิทอน บันดาลให้เฟอิทอนสิ้นชีวิตตกจากรถสุริยาทิตย์ลงสู่แม่น้ำ อีริดานัส ในพริบตา เฟอิทอนมีพี่สาวร่วมอุทร 3 คน เมื่อเฟอิทอนถึงแก่ความตาย นางทั้ง 3 ก็ไปร่ำไห้ที่ริมฝั่งแม่น้ำจนเทพทั้งปวงสงสารเลยแปลงนางเป็นต้นอำพันหลั่งน้ำตาเป็นอำพัน ตั้งแต่บัดนั้น ฝ่ายเพื่อนเล่นคู่หูคนหนึ่งของเฟอิทอนชื่อ ซิกนัส (Cygnus) ก็ลงงมหาศพ ดำผุดดำว่ายในแม่น้ำจนกลายเป็นต้นตะผมลหงส์เล่นน้ำสืบเชื้อสายพงศ์พันธุ์มา จนตราบเท่าทุกวันนี้ ตำนานพฤกษชาติเกี่ยวกับเทพอพอลโล ในบรรดาเรื่องที่เกี่ยวกับเทพอพอลโลโดยตรงมีตำนานพฤกษชาติที่น่ารู้รวมอยู่ด้วย 2-3 เรื่อง เรื่องหนึ่งได้แก่ ตำนาน ต้นชัยพฤกษ์ ซึ่งชาวกรีกถือว่าเป็นต้นไม้คู่บารมีของสุริยเทพทีเดียว เรื่องหนึ่งคือตำนานของต้นไม้น้ำ ที่เราเรียกว่า ผักตบ กับตำนาน ต้นสนป่า และอีกเรื่องหนึ่งเป็น ตำนานต้นทานตะวัน ตำนานต้นชัยพฤกษ์นั้น อยู่ในเรื่องเกี่ยวกับนาง แดฟนี (Daphne) ซึ่งเป็นนางอัปสร รูปงามธิดาของ พีนูส (Peneus) เทพประจำแม่น้ำตามเรื่องเล่าว่า อพอลโลได้พบนางในกลางป่า ให้บังเกิดความพิสมัย จึงเยื้องกราย เข้าหาหมายจะแทะโลม แต่ไม่ทันถึงนางก็วิ่งหนีไปเสียแล้ว ฝ่าย อพอลโลอารามที่ลืมไม่ว่า อะไรอื่นทั้งสิ้นจึงวิ่งตาม วิ่งพลางร้องเรียกให้นางแดฟนีหยุดแม้ชั่วขณะหนึ่ง เท่านั้นก็ตามที เธอสัญญาว่าจะไม่ทำอันตรายเลย นางอัปสรไม่ยอมฟังคำสัญญาหรือวิงวอน ตั้งหน้าแต่รุดหนีอย่างเดียว ฝ่ายอพอลโลก็วิ่งกวด ตามไปโดยไม่ลดละ จนนางแดฟนีเริ่มอ่อนกำลังและตระหนักว่า ฝ่ายไล่กำลังรุกกระชั้นเข้าไปทุกที นางจึงวิ่งหนีกระหืดกระหอบอกสั่นลงยังริมฝั่งแม่น้ำของบิดา ขอให้แปลงร่างนางเสีย หรือบันดาลให้ นางจมลงไปในปฐพี ยังมิทันที่นางจะถึงริมฝั่งน้ำดี นางก็รู้สึกเหมือนหนึ่งตัวเองถูกตรึงติดกับพื้น ด้วย เท้าหยั่งลงในดินเป็นราก ผมและมือก็งอกออกเป็นใบ ส่วนเครื่องคลุมกายกลายเป็นเปลือกไม้ ปกคลุมร่างอันสั่นเทาของนางไป บิดาของนางตอบสนองการที่นางร้องให้ช่วยแล้ว โดยเปลี่ยนนางเป็น ต้นชัยพฤกษ์อยู่ ณ ที่นั้น ฝ่ายอพอลโลตามมาทันไม่เห็นนาง เห็นแต่ต้นไม้ ครั้งแรกเธอไม่รู้สึกเลยว่า สาวเจ้าลับจาก เธอไปแล้ว โดยไม่มีวันจะได้พบอีก แต่เมื่อความจริงเป็นที่ปรากฏดังนั้น เธอจึงมีเทพบรรหารว่า นับ แต่บัดนี้ต้นชัยพฤกษ์ จงเป็นต้นไม้ที่โปรดปรานของเธอ อันคนหลายคนพึงเด็ดช่อใบร้อยพวงมาลา เป็นรางวัลแก่กวีและนักดนตรีสืบไป เรื่องอพอลโลกับนางแดฟนีนี้ นอกจากจะแสดงตำนานของต้นชัยพฤกษ์แล้ว ยังเป็นนิทาน อุปมาถึงปรากฏการณ์ของธรรมชาติ ที่เกิดเป็นประจำวันเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ (อพอลโล) และน้ำค้าง (แดฟนี) อีกโสดหนึ่งด้วย กล่าวคือยามดวงอาทิตย์ทอแสงลงมาเยี่ยมโลกเมื่อรุ่งอรุณ น้ำค้างที่ยังเหลือ อยู่ตามใบไม้ ใบหญ้า และตามพื้นดินก็หายไปดุจดังนางแดฟนีหนีลับจากอพอลโล ตามท้องเรื่องที่เล่า มาแล้วฉะนั้ ต่อไปนี้จะเล่าตำนานผักตบและต้นสนป่า ตามท้องเรื่องที่เล่าสืบ ๆ มา ในเทพปกรณัมของกรีกว่า อพอลโล มีมนุษย์เป็นเพื่อนที่สนิทเสน่หาอย่างยิ่งคนหนึ่งชื่อว่า ไฮยาซินทัส (Hyacinthus) และมานพนี้ก็เป็นเพื่อนกับ เสฟไฟรัส (Zephyrus) เทพ ประจำลมตะวันตกด้วย เสฟไฟรัสมีความริษยาสุริยเทพ และเคืองแค้นไฮยาซินทัส ในการที่สนิทสุริยเทพยิ่งกว่าตน วันหนึ่งอพอลโลกับไฮยาซินทัสเล่นทอยห่วงเหล็กกัน เสฟไฟรัสผ่านมาพบเข้า จึงคิดแกล้งให้อพอลโลโทมนัสโดยทำให้ไฮยาซินทัสตายเสีย เสฟไฟรัสก็แกล้งเป่าเหล็กของอพอลโลโดยแรงให้ถูกคู่เล่นล้มลง ฝ่ายอพอลโลเห็นเหตุ นั้นจึงกระทำปฐมพยาบาลห้ามเลือดซึ่งไหลออกจากแผลไฮยาซินทัส แต่เลือดก็หาหยุดไหลไม่ ไฮยาซินทัสทนพิษบาดแผลไม่ได้ จึงสิ้นใจลงในขณะนั้นเอง อพอลโลโทมนัสในการตายของปิยมิตรยิ่งนัก และเพื่อให้เป็นเครื่องระลึกถึงปิยมิตรผู้ตายเธอจึงบันดาลให้เลือดของไฮยาซินทัสที่ตกกองอยู่นั้นเป็นกอดอกไม้ เรียกว่า ไฮยาซิน (ผักตบ) ตามชื่อเจ้าของเลือดตั้งแต่นั้นมา ภายหลังมรณะกรรมของไฮยาซินทัส อพอลโลหันไปคบมนุษย์เป็นเพื่อนอีกคนหนึ่งเพื่อให้หายโศก มานพนี้เป็นพรานหนุ่มที่เฉลียวฉลาด มีชื่อว่า ไซพาริสสัส (Cyparissus) แต่รายนี้ก็อีก เป็นมิตรภาพที่มีอันต้องสิ้นสุดลงด้วยความเศร้าโศก เป็นข้อยืนยันว่า อพอลโลมีความอาภัพในมิตรภาพ กล่าวคือ ไซพาริสสัส บังเอิญฆ่า ลูกกวางที่อพอลโลเลี้ยงไว้ ให้เสียใจนัก ไม่เป็นอันกินอันนอนจนซูบผอมลงไปทุกที และในที่สุดก็ตายด้วยความตรอมใจ อพอลโลจึงประสาทให้ร่างอันปราศจากชีวิตของ ไซพาริสสัสกลายเป็นต้นสนป่า และบรรหารว่าสืบแต่นั้นให้ต้นสนป่าจงเป็นต้นไม้สำหรับความร่มรื่นให้เกิดแก่หลุมศพของคนผู้เป็นที่รักของญาติมิตรต่อไป หน้าที่สำคัญที่อพอลโลปฏิบัติอยู่เป็นประจำวันนั้นได้แก่ การขับรถพระอาทิตย์ ขึ้นจากฟากมหาสมุทรเมื่อรุ่งอรุณโคจรไปตามสุริยวิถี ผ่านฟากฟ้าโดยไม่หยุดพักเลย จนถึงเรือทองที่จะจอดคอยเธอในทิศตะวันตก เมื่อสิ้นวันแล้วอพอลโลจึงลงเรือกลับคืนตำหนักสู่วังที่ประทับในทิศตะวันออก รอวันใหม่วนเวียนอยู่ดังนี้ทุกวันเป็นเนืองนิตย์ ยังมีนางอัปสรประจำน่านน้ำ ธิดาของโอเชียนัสกับนางเทวีทีธิสชื่อว่า ไคลที (Clytie) นางหลงใหลใฝ่ฝันในเทพอพอลโลอยู่ คอยเฝ้าดูการโคจรประจำวันของสุริย เทพทุกวัน แต่อพอลโลจะไยดีกับนางก็หาไม่ ถึงกระนั้นนางก็เฝ้าดูเธอทุกวัน นับตั้งแต่วาระเมื่อเธอทรงรถออกจากวังยามเช้าไปจนกระทั่งเธอโคจรถึงทะเลฟากตะวันตก โดย ผินหน้าตามไปมิให้อพอลโลคลาดจากสายตา หวังว่าสักวันหนึ่งอพอลโลคงจะบังเกิดความปฏิพัทธ์เสน่หานางบ้าง นางไคลทีสู้ทนเฝ้าคอยอยู่ดังนั้นเป็นเวลานานไม่ยอมละสาย ตาจากอพอลโลไปมองดูอื่น ในที่สุดเทพทั้งปวงมีความสงสาร จึงเปลี่ยนนางเป็นต้นทานตะวันชูดอกผินตามดวงอาทิตย์ตั้งแต่เช้าจนเย็นเป็นประจำมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ บริวารของอพอลโล อพอลโลมีบริวารที่ควรกล่าวถึงอยู่เหล่าหนึ่ง ได้แก่ คณะศิลปวิทยาเทวี ซึ่งภาษาอังกฤษ เรียกว่า The Muses เป็นเทวีประจำศิลปวิทยาการต่าง ๆ เกิดแต่ซูสเทพบดีกับนางนีโมซินี (Mnemosyne เทวีครองความจำ) มี 9 องค์ มีชื่อและวิชาการเกี่ยวข้องดังนี้ - ไคลโอ (Clio) ประจำประวัติศาสตร์ - ยูเรเนีย (Urania) ดาราศาสตร์ - เมลโพมีนี (Melpomene) เรื่องโศก(tragedy) - ธะไลอะ (Thalia) เรื่องสรวล (comedy) - เทิร์ปซิโครี (Terpsichore) การฟ้อนรำ - คัลลิโอพี (Colliope) บทกวีเรื่อง - เออระโต (Erato) บทกวีรัก - ยูเทอร์พี (Euterpe) บทกวีร้อง - โพลิฮิมเนีย (Polyhymnis) บทกวีร่ายอาศิรพจน์ ...แต่บริวารที่ใกล้ชิดเธอที่สุด คือ อีออส (Eos) หรือ ออโรรา (Aurora) เป็นเทวีครองแสงเงินแสงทอง หรืออุษาเทวี ทำหน้าที่เปิดทวารมุกดา ยามอรุณรุ่งให้รถอพอลโลออก โคจร และพร้อมกันนั้นก็ไขแสงเงินแสงทอง เป็นสัญญาณเบิกทางโคจรของอพอลโลขึ้นด้วย เทพอพอลโล Apollo ...อพลโล (Apollo) เทพคู่แฝดผู้น้องของเทวีอาร์เตมิส คือเทพครองดวงอาทิตย์ ซึ่งภายหลังชาวกรีกและโรมันถือว่า เป็นดวงอาทิตย์ทีเดียว เหมือนอย่างที่ถืออาร์เตมิสเป็นดวงจันทร์ฉันนั้น ในชั้นดั้งเดิมสุริยเทพของกรีกคือ ฮีลิออส(Helios) ซึ่งเป็นบุตรของโอเพอร์เรียน (Hyperion) ในคณะเทพไทแทน แต่เมื่อคณะเทพไทแทนสิ้นอำนาจ ชาวกรีกจึงนับถือเทพ อพอลโลแทนสืบต่อมา เมื่อนาง แลโตนา มารดาของอพอลโล ถูกกระทำด้วยความหึงของเจ้า แม่ฮีรา เพราะเหตุเป็นที่ปฏิพัทธ์เสน่หาของ ซูส ต้องอุ้มครรภ์ หนีงู ไพธอน (Python) ของเจ้าแม่ ซอกซอนไปไม่มีที่จะให้ประสูติบุตรในครรภ์ได้จน ถึงเกาะดีลอส (Delos) เทพโปเซดอน มี ความสงสารบันดาลให้เกาะน้อยผุดขึ้นในทะเล นางจึงให้ประสูติอพอลโลกับอาร์เตมิส บนเกาะ นั้น ในทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา อพอลโลก็จับงูไพธอนฆ่าเสีย ด้วยเหตุนี้ บางทีอพอลโลก็เป็นที่เรียก ขานว่า ไพธูส (Pytheus) แปลว่า "ผู้ประหารไพธอน" นอกจากนี้อพอลโลยังมีชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อ มีชื่อตาม สถานที่เกิดว่า ดีเลียน (Felian) ฟีบัส (Phoebus) แปลว่า "โอภาส" หรือ "ส่องแสง" เป็นอาทิ ชื่อหลังนี้มัก ใช้บวกกับชื่อประจำว่า ฟีบัส อพอลโล เนือง ๆ เมื่อให้ประสูติบุตรแล้ว นางแลโตนาก็ยังไม่พ้นการรังควานของเจ้าแม่ฮีรา ต้องดั้นด้นเซซังต่อไปจนถึงแคว้น เคเรีย (Caria) ซึ่งอยู่ ในเอเซียไมเนอร์ปัจจุบันนี้ นางจำเป็นต้องหยุดพัก ณ ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งด้วยโรยกำลัง และขอดื่มน้ำจาก พวกชาวบ้าน ที่ออกมาถอนหญ้า คาอยู่ในบริเวณนั้น พวกชาวบ้านแทนที่จะสมเพชสงสารกลับ ไล่ตะเพิดและด่าทอนางด้วยคำ หยาบช้า ทำให้ซูสเทพบดีกริ้วจัดนัก ถึงแก่ สาปชาวบ้านเหล่านั้นให้กลายเป็นกบไปทั้งหมด ตำนานเรื่องนี้เห็นจะแสดงว่าใน ละแวกนั้นมีกบ ชุม และกบปัจจุบันอาจสืบเชื้อสายจากชาว บ้านที่ถูกสาปเหล่านั้นก็เป็นได้ อพอลโลเป็นเทพที่ชาวกรีกถือว่ามีรูปงามยิ่ง และเป็นนักดนตรีผู้ขับกล่อมเทพทั้งปวงบนเขาโอลิมปัส ด้วยพิณถือของเธอ นอกจากนี้เธอยังมีคันธนูซึ่งยิงได้ไกล จึงได้สมญานามว่า เทพขมังธนู ใช่แต่เท่านั้นเมื่อไร เธอยังเป็นเทพผู้ถ่ายวิชาโรคศิลป์ ให้แก่มนุษย์เป็นปฐม เป็นเทพแห่งแสงสว่างผู้ขจัดความมืดและเป็นเทพแห่ง สัจธรรมผู้ไม่เคยเอ่ยวาจาเท็จอีกด้วย วิหารของเทพอพอลโลนั้น มีอยู่ดาษดื่นทั่วไปในประเทศแต่ที่สำคัญที่สุดได้แก่วิหาร ณ เมืองเดลฟี ใกล้ทิวเขาพาร์นาซัส รูปอนุสาวรีย์ โคลอสซัส (Colosus) ที่เขาสร้างอุทิศแด่เธอ ณ เกาะ โรดส์ (Rhodes) นั้นเป็นสิ่งหนึ่งในสิ่งอัศจรรย์ทั้ง 7 ของโลกสมัยโบราณทีเดียว เทพอพอลโลได้สำแดงวีรกรรมสังหารผลาญชีวิตคนพาลมากมาย นอกจากเคยฆ่างู ยักษ์ไพธอนจนมีชื่อ เสียงมหาศาลแล้ว ยังสามารถสังหารยักษ์ อโลอาดี (Aloadae) และ อีฟิอัลทิส(Ephialtes) ซึ่งเป็นเชื้อสายของ วงศ์ไทแทนคิดล้มซูสเทพบดีเพื่อฟื้นวงศ์ไทแทนคืนมา เป็นต้น แต่มีครั้งหนึ่งที่อพอลโลยังไม่อาจเอาชนะมนุษย์ คนหนึ่งได้จนร้อนถึงไท้เทพซูสต้องออกมาประนีประนอม บุรุษเดินดินคนนั้นนามว่า เฮอร์คิวลิส หรือ เฮลาคลิสนั่นเอง เหตุเกิดเพราะเฮอร์คิวลิสไปขอคำพยากรณ์ที่วิหารเดลฟีแล้ว ได้รับคำทำนายไม่ถูกใจ จึงล้มโต๊ะ พิธีใน วิหารแล้วฉวยเอากระถางธูปไป เทพอพอลโลรีบรุดตามไปท้าเล่นมวยปล้ำเพื่อชิงเอากระถางคืน ปล้ำกันอยู่ นานไม่อาจรู้แพ้ชนะ ชะรอยซูสเห็น ท่าว่าขืนปล่อยไว้นานอพอลโลอาจจะเสียเปรียบพ่ายแพ้แก่มนุษย์เข้าได้ และ อาจเสียหน้าวงศ์เทพแน่ จึงเสด็จลงไปห้ามปรามให้เลิกราต่อกัน ขอให้เฮอร์คิวลิสคืนกระถางธูปแก่อพอลโล แล้วให้ เลิกราเรื่องบาดหมางต่อกัน เรื่องราวก็เลยจบลงด้วยดี เทพอพอลโลมีอุปนิสัยไม่ยอมแพ้ใครอยู่ไม่น้อย เห็นได้จากที่ไปแข่งเป่าขลุ่ยกับมาไซยาส์ซึ่งเป็นเทพชั้นรอง แล้วตั้งกรรมการตัดสินว่าผู้ใดเป่าเก่งกว่ากัน พระเจ้าไมดาส (Midas องค์ที่จับอะไรก็กลายเป็นทอง) เกิดตัดสินเข้าข้างมาไซยาส์ เพียงเท่านี้ อพอลโลก็ไม่ฟังอะไรอีก จึงสาปให้ไมดาสมีหูเป็นลาไปทันที ตามเรื่องต่าง ๆ ที่เธอมีบทบาทอยู่ อพอลโลดูจะเป็นเทพใจสูงกว่าองค์อื่น ๆ แต่ถึงกระนั้นก็มีอยู่ 2-3 เรื่อง ที่แสดงให้เห็นความโหดเ!้ยมดุร้ายของเธอดังเราจะเห็น จากเรื่องต่อไปนี้ การลงโทษนางไนโอบี เทพอพอลโลกับเทวีอาร์เตมิสเป็นที่สวาสดิ์ภาคภูมิใจของมารดายิ่งนัก นางถึงแก่โอ้อวดคุยฟุ้งเฟื่องไปไกลว่าจะหาบุตรใครเสมอบุตรของนางเห็นจะไม่มีอีกแล้ว ไม่ว่าจะเปรียบกันในเชิงสิริรูป สติปัญญา หรือพลังอำนาจ ก็ต้องแพ้บุตรของนางหลุดลุ่ย ความนี้เลื่องลือไปถึงนาง ไนโอบี (Niobe) ซึ่งเป็นธิดาของท้าว แทนทะลัส (Tantalus) และมเหสีเจ้ากรุง ธีบส์ (Thebes) นางไนโอบีกลับหัวเราะเยาะและค่อนว่า นางแลโตยามีลูกจะอวดกับเขาแต่เพียง 2 เท่านี้หรือ ส่วนนางเองสิมีถึง 14 เป็นชาย 7 ล้วนแต่มีรูปกำยำงามสง่า และเป็นหญิงล้วนแต่ทรงโฉมวิลาสวิไลถึง 7 นางไนโอบีลั่นวาจาก้าวร้าวสบประมาทนางแลโตนาอีกเป็นอันมาก ซ้ำยังกำเริบเสิบสานถึงแก่ห้ามชาวเมือง ของนางกระทำบูชาเทพอพอลโลและเทวีอาร์เตมิส แถมบังอาจสั่งให้ทำลายรูปเคารพเทพและเทวีคู่นี้จากแท่นที่บูชา ในอาณาจักรของนางอีกด้วย นางแลโตนาโกรธแค้นหนักหนาในการที่ถูกหยามหยาบถึงเพียงนี้ จึงเรียกบุตรและ ธิดาเคียงข้าง และสั่งให้ออกตามฆ่าบุตรและธิดาของนางไนโอบีเสียให้สิ้น เทพบุตรเทพธิดาคู่แฝดอยู่ในอารมณ์ขึ้งเคียดเต็มที่ จึงขมีขมันออกไปตามคำสั่งทันที อพอลโลพบมานพทั้ง 7 ออกล่า! จึงประหารเสียด้วยลูกธนูตายหมดทั้ง 7 คน เมื่อข่าวการตายของบุตรรู้ไปถึงนางไนโอบี นางก็โศกเศร้า โทมนัสนัก ฝ่ายเจ้ากรุงธีบส์สวามีก็ทำลายตัวเองสิ้นไปด้วยอีกคนหนึ่ง ยังเหลือธิดาทั้ง 7 ยังไม่ทันที่มารดาจะวายโศก ก็ถูกเทวีอาร์เตมิสจองประหารอีก มิใยสาวผู้ถึงฆาตทั้ง 7 จะพยายามหนีให้พ้นลูกธนูของเจ้าแม่แห่งนายพรานอย่างไร ๆ ก็ไม่สำเร็จ แม้นาง ไนโอบีจะพยายามปกป้องลูก และอ้อนวอนขอความอารักขาคุ้มครองจากทวยเทพบนเขาโอลิมปัสสักเท่าใดก็ไม่เป็น ผล ธิดาของนางต้องศรล้มกลิ้งตายกันระเนระนาด ที่สุดจนนางที่ซุกอยู่ระหว่างอุระของมารดา เทวีอาร์เตมิสผู้อาฆาตก็ไม่ละเว้น ลูกธนูของเจ้าแม่แล่นเข้าเป้าเสียบนางนั้น ให้วายชีวิตไปแทบอุระของมารดาจนได้ นางไนโอบีสูญสิ้นทั้งสามีและบุตรธิดาที่มาดหมายเหลือแต่นางเดียวดายถึงไม่ตายก็เหมือนตาย ความเศร้ารันทดหนุนเนื่องประดังขึ้นมาแน่นอุระ นางก็แข็งชาไปทั้ง ร่างกาย มิอาจจะขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวได้ อนิจจา! ร่างของนางกลายเป็นหินตื้อตันไปหมด คงอยู่แต่หยาดน้ำตารินไม่สิ้นสุด แต่วันนั้นมาจนวันนี้ น้ำตานางจะหยุดไหลก็หา ไม่ ส่วนรูปหินของนางไนโอบีก็ยังปรากฏอยู่บนเขา ไซปิลัส (Sipylus) จนตราบเท่าทุกวันนี้ นักเทพปกรณัมวิทยาเขาว่ากันว่า เรื่องนี้ก็คือ ตำนานเปรียบเทียบถึงอำนาจของแสงอาทิตย์เมื่อสิ้นฤดูหนาว ซึ่งนางไนโอบีนั้นหมายถึงฤดูหนาว บุตรทั้ง 7 คือระยะ กาลแห่งความหนาว และลูกธนูของอพอลโลก็คือแสงอาทิตย์ อพอลโลถูกเนรเทศ เมื่อยังเยาว์อพอลโลเที่ยวไปตามแว่นแคว้นต่าง ๆ ทางทิศเหนือของประเทศกรีซ มีดินแดนของชนชาติไฮเพอร์โบเรียนและแคว้นเธสสะลีเป็นต้น เธอเที่ยวผูก สมัครรักใคร่หญิงทั่วไปตามวิสัยหนุ่มรุ่น ในแคว้นเธสสะลีมีสาวเจ้าคนหนึ่งงามนัก ชื่อว่า โครอนนิส (Coronis) เป็นธิดาเจ้าแห่งแคว้นนั้น อพอลโลผูกสมัครรักใคร่ได้ เสียกับนางจนเกิดบุตรด้วยกันคนหนึ่ง แต่นางกลับปรากฏว่าเป็นหญิงหลายใจ ในระหว่างที่นางมีครรภ์ อพอลโลให้นกดุเหว่าขนขาวปลอดตัวหนึ่งเฝ้านางไว้ เมื่อนางคบชู้ นกก็ไปบอกข่าวแก่เทพผู้เป็นนาย อพอลโลบันดาลโทสะ พลอยสาปนกซึ่ง บอกข่าวอัปมงคลให้กลับมีขนสีดำไป ดังนั้นนกดุเหว่าจึงมีขนสีดำตั้งแต่นั้นมา ส่วนนางโครอนนิสถูกฆ่า ว่ากันว่าด้วยน้ำมือของเทพอพอลโลเองบ้าง ด้วยคมศรของเจ้าแม่ อาร์เตมิสบ้าง แต่บุตรในครรภ์ซึ่งจวนจะครบกำหนดคลอดนั้นรอดตาย ด้วยอพอลโล(บ้างก็ว่าเฮอร์มีส) เอาออกจากครรภ์ ตอนเผาศพนางโครอนนิส แล้วมอบให้แก่ ไครอน (Chiron) ผู้มีชาติเป็นอมนุษย์ เซนทอร์ (Centaur) เป็นผู้เลี้ยงดู ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ ไครอนนี้เป็นอาจารย์ผู้ปราดเปรื่อง เชี่ยวชาญในวิชาการต่าง ๆ มีวิชาดนตรี เภสัชกรรมวิทยา และวิชาธนูศิลป์ เป็นต้น เป็นที่นับถือของชาวกรีกโบราณว่า เป็นผู้ สอนมนุษย์ให้รู้จักใช้พืชสมุนไพรทำยา และเป็นอาจารย์ของวีรบุรุษคนสำคัญ ๆ ในเทพปกรณัมมากมาย เช่น อคิลีส, เฮอร์คิวลีส, เยสัน, พีลูส, อีเนียส และคนอื่น ๆ อีก ในตอนปลายอายุถูกเฮอร์คิวลีสยิงด้วยธนูอาบยาพิษ โดยความสำคัญผิดของเฮอร์คิวลีสในระหว่างที่ตามล้างเซนทอร์พวกหนึ่ง แม้เฮอร์คิวลิสจะช่วยแก้ไขให้รอดตาย และ ไครอนแม้จะเป็นหมออยู่กับตัว แต่ก็ไม่สามารถถอนพิษยาได้ พิษยาบันดาลให้ไครอนเจ็บปวดรวดร้าวนักหนา ซูสเทพบดีจึงโปรดให้กลายเป็นดาวอยู่ในกลุ่มดาวชื่อ แซชจิเตริอัส (Sagitarius) บุตรของเทพอพอลโล ที่อาจารย์ไครอนรับฝากไว้นั้นได้ขนานชื่อว่า เอสคิวเลปิอัส (Aesculapius) เป็นเด็กฉลาดเฉลียวมีความเข้าใจแตกฉานและเป็น ที่รักของอาจารย์อย่างยิ่งวิชาที่เขาใส่ใจศึกษาที่สุดได้แก่ โรคศิลป์ เพราะฉะนั้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขี้น เขาจึงกลายเป็นหมอบำบัดโรคผู้มีความสามารถยิ่ง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสในการบำบัดโรคนั้นยิ่งกว่าของอาจารย์มาก ด้วยที่สามารถบำบัดโรคและความป่วย ไข้ได้ทุกชีวิต ซึ่งไครอนเองทำไม่ได้ ในไม่ช้าชื่อ เสียงของเอสคิวเลปิอัสก็เลื่องลือไปไกล ไม่ว่าใครจะเจ็บไข้ได้ป่วย หนักหนาสาหัส หรือเล็กน้อย ถ้าได้รับการบำบัดจากเขาแล้วก็ทุเลาลงอย่างรวดเร็ว จนกล่าวได้ว่าหายวันหายคืนเลย ทีเดียว ผู้คนพากันไปขอรับการบำบัดโรค ณ สำนักของเขา ทั้งจากใกล้และไกลทุกทิศทาง นับว่าการบำเพ็ญประโยชน์ของ เอสคิวเลปิอัสแผ่ไพศาลยิ่ง ทั้งโดยเนื้อ นาบุญและโดยระยะทาง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสเป็นที่เลื่องลือไปจนว่ากันว่า ครั้งหนึ่งเขาสามารถแก้คนตายให้ฟื้นได้ อัน เป็นเหตุ ให้เทพปริณายกซูส กับเทพฮาเดส เจ้าแห่งแดนคนตายเดือดร้อน ทั้งริษยาและหวั่นเกรงในอำนาจ บารมีของ เอสคิวเลปิอัส หากปล่อยไว้นานไปเบื้องหน้าจะทำให้มนุษย์กำเริบอีก เห็นว่าจะละไว้มิได้ ซูสจึงประหาร เอสคิวเลปิอัส ด้วยอสนีบาต เทพอพอลโลบันดาลโทสะกล้าในการตายของบุตร แต่ไม่รู้จะโกรธเอากับเทพบิดาอย่างไร จึงหันไปไล่ เบี้ยเอากับช่างประกอบอสนีบาตถวายซูส คือ เทพฮีฟีสทัส กับยักษ์ไซคลอปส์ เธอน้าวคันธนูเงินมุ่งจะยิงธนู สังหารยักษ์ไซคลอปส์เสียให้สมแค้น แต่ซูสไม่ยอมให้อพอลโลทำเช่นนั้นได้ และเพื่อจะลงโทษบุตรในความ อุกอาจดังนี้ ไท้เธอจึงเนรเทศอพอลโลให้ลงมาอยู่ในมนุษย์โลก และให้เป็นข้าของมนุษย์เป็นเวลา 1 ปีเสียก่อน จึงจะพ้นโทษ เรื่องของเฟอิทอน นอกจากเอสคิวเลปิอัสแล้ว อพอลโลยังมีบุตรอีกคนหนึ่ง แต่เกิดกับนางอัปสร ไคลมินี (Clymene) ชื่อเฟอิทอน (Phaeton) วันหนึ่งเฟอิทอนถูก เพื่อนเรียนหนังสือด้วยกันหัวเราะเยาะ ในการที่อ้างตนเป็นบุตรสุริยเทพ เฟอิทอนทั้งเคืองทั้งอับอายกลับมารบเร้าให้มารดาพาไปหาบิดา เพื่อให้ได้หลักฐานพิสูจน์ว่าตนเป็น บุตรเทพอพอลโลจริง นางไคลมินีจึงบอกทางให้บุตรเดินทางไปทางทิศตะวันออกจนกว่าจะถึงวังที่ประทับของอพอลโล ณ ที่นั้นจะได้พบกับบิดาสมประสงค์ เฟอิทอนรีบดั้นเดินทางโดยไม่หยุดพัก จนล่วงเข้าเขตวังของบิดา แม้ภูมิทำเลบริเวณวังจะงดงามตระการเพียงใด และตำหนักที่ประทับของอพอลโลก็เรืองวิจิตรน่า พรึงเพริดสักปานใด เฟอิทอนก็หาแยแสใส่ใจไม่ ฝ่ายอพอลโลเห็นกุมารเข้าไปใกล้ก็จำได้ว่าเป็นบุตร และเมื่อเฟอิทอนขึ้นถึงบัลลังก์ที่เธอประทับอยู่เธอก็ปฏิสันถารกับ เฟอิทอนอย่างบิดากับบุตร สั่งถามถึงธุระในการที่มาเฝ้า เฟอิทอนจึงทูลแถลงถึงเรื่องราวและความที่พึงประสงค์ พอจบเทพอพอลโลก็ออกอุทานวาจาว่า อนุญาตให้เฟอิทอนได้ ข้อพิสูจน์ตามแต่จะพึงประสงค์ พร้อมทั้งสาบานยืนยันมั่นคง โดยอ้างแม่น้ำสติกส์เป็นทิพยพยานอีกด้วย การสาบานโดยการอ้างชื่อแม่น้ำสติกส์นี้ เป็นการสาบานอันเคร่งครัดที่สุด ซึ่งลงว่าเทพองค์ใดลั่นสาบานแล้ว เทพองค์นั้นจะล่วงละเมิดไม่ได้เป็นอันขาด ถ้าเทพผู้ ล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตามสาบาน จะต้องเสวยน้ำในแม่น้ำนี้ซึ่งจะทำให้ปัญญาเสื่อมเศร้าหมองเป็นเวลา 1 ปี กับจะต้องถูกขับออกจากเขาโอลิมปัสและงดเสวยน้ำอมฤตอีก 9 ปี เฟอิทอนฟังคำสาบานดังนั้น จึงขออนุญาตขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาในวันนั้น เพื่อว่าโลกทั้งมวลจะได้ตระหนักชัดว่า เธอเป็นบุตรสุริยเทพสมจริงตามที่กล่าวอ้าง ก็ แหละรถพระอาทิตย์นั้ไม่ใช่ของสำหรับใครจะขับได้ ด้วยว่าผู้ที่สามารถควบคุมม้าเทียมทั้ง 4 แสนจะพยศที่ลากรถนั้นจะมีก็แต่เทพอพอลโลองค์เดียว เมื่อเฟอิทอนขออนุญาต ขับรถแทนอพอลโลก็ถึงแก่สะดุ้งประหวั่นเกรงจะเกิดเหตุยุ่งยากและเดือดร้อนไปทั่วโลกพิภพและจักรวาล จึงบ่ายเบี่ยงบอกเฟอิทอนให้ขอพรอย่างอื่น ฝ่ายเฟอิทอนมีจิต กำเริบดื้อดึงขึ้นมาเสียแล้ว คงยืนกรานที่จะขอขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาให้จงได้ ในที่สุดสุริยเทพซึ่งลั่นสาบานอันไม่พึงล่วงละเมิดออกไปเสียแล้วสุดที่จะบ่ายเบี่ยงต่อไปอีกได้ ก็จำต้องยอมอนุญาตให้เฟอิทอนขับรถพระอาทิตย์แทนได้ดังประสงค์ กำหนดเวลาออกรถดลมาถึงพร้อมแล้ว ม้าเทียมรถก็เตรียมเผ่นโผนโจนทะยานออกอยู่แล้ว นางประจำยามเข้าเคียงข้างรถอยู่พร้อมสรรพฝ่ายอุษาเทวีก็คอย อาณัติสัญญาณสั่งจากสุริยเทพ เตรียมไขทวารเบิกม่านฟ้าอยู่ทีเดียว ฝ่ายเทพอพอลโลจัดแจงชโลมเฟอิทอนด้วยของเย็นกันถูกแสงอาทิตย์แผดเผา พลางสั่งเฟอิทอนให้ขับรถรักษาเส้นทางโคจรเดิมไว้ให้ดี อย่าให้รถออกนอกทางเป็น อันขาด เธอสั่งย้ำซ้ำซากให้บุตรกวดขันระมัดระวังม้าเทียมโดยเคร่งครัดอย่างที่สุด และให้ใช้แส้แต่โดยออมชอมเท่านั้นด้วยว่ามันเป็นม้าที่พยศมาก หนุ่มน้อยฟังบิดาสั่งเสียอย่างระอิดระอา แล้วก็โดดขึ้นนั่งรถทองรวบสายบังเ!ยน ให้สัญญาณอุษาเทวีเปิดทวารและขับรถออกจากวังสุริยเทพด้วยความกระหยิ่ม ลำพองใจ ในชั่วโมงแรก ๆ เฟอิทอนสังวรในคำสั่งเสียของบิดา แต่แล้วความกำเริบเสิบสานเข้าครอบงำ ทำให้ลืมคำสั่งของบิดาเสีย เฟอิทอนขับรถเร็วขึ้นทุกทีจนรถออกนอก ทางโคจรไป ดวงจันทร์และดาราน้อยใหญ่พากันตื่นตระหนกที่ได้เห็นรถสุริยาทิตย์แล่นเตลิดไปกลางหาว แต่ก็ไม่มีปัญญาจะทำประการใดได้ และเฟอิทอนก็ขับรถใกล้โลก พิภพเข้ามาทุกที จนเป็นเหตุให้พืชพันธ์ทั้งปวงเ!่ยวแห้งตายหมด น้ำในแม่น้ำลำธารก็เหือดแห้ง แผ่นดินไหม้เกรียมจนเกิดควันโขมง ผู้คนของแผ่นดินนั้นถูกแสงอาทิตย์ แผดเผาจนตัวดำไปหมดสิ้น เป็นสีกายที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาแต่ครั้งนั้นจนถึงทุกวันนี้ และแผ่นดินที่ถูกรถสุริยาทิตย์เข้าใกล้ในครั้งนั้นก็คือ แอฟริกานั่นเอง เฟอิทอนตื่นตกใจในเหตุอันตนทำให้เป็นไปจึงลงแส้ม้าชักรถให้ถอยห่างจากโลก ม้าก็เผ่นโผนโจนทะยานเหออกห่างโลกเสียลิบลับ ทำให้พืชพันธ์ธัญญาหารที่เหลือ รอดจากความร้อนอยู่บ้าง กลับเ!่ยวเฉาตายลงอีกเพราะความหนาวจัดฉับพลัน ทั้งแผ่นดินแผ่นน้ำตอนนั้นก็มีน้ำแข็งปกคลุมทั่วไปหมด เสียงผู้คนร้องระงมดังขึ้นทุกที จนใน ที่สุดก็ปลุกซูสเทพบดีให้ตื่นจากบรรทมเล็งทิพยเนตรสืบสวนหาสาเหตุ ครั้นได้ความว่าเหตุเกิดจากเฟอิทอนบังอาจขับรถสุริยาทิตย์เช่นนั้น ไท้เธอก็พิโรธนัก คว้าอสนีบาต ฟาดไปที่เฟอิทอน บันดาลให้เฟอิทอนสิ้นชีวิตตกจากรถสุริยาทิตย์ลงสู่แม่น้ำ อีริดานัส ในพริบตา เฟอิทอนมีพี่สาวร่วมอุทร 3 คน เมื่อเฟอิทอนถึงแก่ความตาย นางทั้ง 3 ก็ไปร่ำไห้ที่ริมฝั่งแม่น้ำจนเทพทั้งปวงสงสารเลยแปลงนางเป็นต้นอำพันหลั่งน้ำตาเป็นอำพัน ตั้งแต่บัดนั้น ฝ่ายเพื่อนเล่นคู่หูคนหนึ่งของเฟอิทอนชื่อ ซิกนัส (Cygnus) ก็ลงงมหาศพ ดำผุดดำว่ายในแม่น้ำจนกลายเป็นต้นตะผมลหงส์เล่นน้ำสืบเชื้อสายพงศ์พันธุ์มา จนตราบเท่าทุกวันนี้ ตำนานพฤกษชาติเกี่ยวกับเทพอพอลโล ในบรรดาเรื่องที่เกี่ยวกับเทพอพอลโลโดยตรงมีตำนานพฤกษชาติที่น่ารู้รวมอยู่ด้วย 2-3 เรื่อง เรื่องหนึ่งได้แก่ ตำนาน ต้นชัยพฤกษ์ ซึ่งชาวกรีกถือว่าเป็นต้นไม้คู่บารมีของสุริยเทพทีเดียว เรื่องหนึ่งคือตำนานของต้นไม้น้ำ ที่เราเรียกว่า ผักตบ กับตำนาน ต้นสนป่า และอีกเรื่องหนึ่งเป็น ตำนานต้นทานตะวัน ตำนานต้นชัยพฤกษ์นั้น อยู่ในเรื่องเกี่ยวกับนาง แดฟนี (Daphne) ซึ่งเป็นนางอัปสร รูปงามธิดาของ พีนูส (Peneus) เทพประจำแม่น้ำตามเรื่องเล่าว่า อพอลโลได้พบนางในกลางป่า ให้บังเกิดความพิสมัย จึงเยื้องกราย เข้าหาหมายจะแทะโลม แต่ไม่ทันถึงนางก็วิ่งหนีไปเสียแล้ว ฝ่าย อพอลโลอารามที่ลืมไม่ว่า อะไรอื่นทั้งสิ้นจึงวิ่งตาม วิ่งพลางร้องเรียกให้นางแดฟนีหยุดแม้ชั่วขณะหนึ่ง เท่านั้นก็ตามที เธอสัญญาว่าจะไม่ทำอันตรายเลย นางอัปสรไม่ยอมฟังคำสัญญาหรือวิงวอน ตั้งหน้าแต่รุดหนีอย่างเดียว ฝ่ายอพอลโลก็วิ่งกวด ตามไปโดยไม่ลดละ จนนางแดฟนีเริ่มอ่อนกำลังและตระหนักว่า ฝ่ายไล่กำลังรุกกระชั้นเข้าไปทุกที นางจึงวิ่งหนีกระหืดกระหอบอกสั่นลงยังริมฝั่งแม่น้ำของบิดา ขอให้แปลงร่างนางเสีย หรือบันดาลให้ นางจมลงไปในปฐพี ยังมิทันที่นางจะถึงริมฝั่งน้ำดี นางก็รู้สึกเหมือนหนึ่งตัวเองถูกตรึงติดกับพื้น ด้วย เท้าหยั่งลงในดินเป็นราก ผมและมือก็งอกออกเป็นใบ ส่วนเครื่องคลุมกายกลายเป็นเปลือกไม้ ปกคลุมร่างอันสั่นเทาของนางไป บิดาของนางตอบสนองการที่นางร้องให้ช่วยแล้ว โดยเปลี่ยนนางเป็น ต้นชัยพฤกษ์อยู่ ณ ที่นั้น ฝ่ายอพอลโลตามมาทันไม่เห็นนาง เห็นแต่ต้นไม้ ครั้งแรกเธอไม่รู้สึกเลยว่า สาวเจ้าลับจาก เธอไปแล้ว โดยไม่มีวันจะได้พบอีก แต่เมื่อความจริงเป็นที่ปรากฏดังนั้น เธอจึงมีเทพบรรหารว่า นับ แต่บัดนี้ต้นชัยพฤกษ์ จงเป็นต้นไม้ที่โปรดปรานของเธอ อันคนหลายคนพึงเด็ดช่อใบร้อยพวงมาลา เป็นรางวัลแก่กวีและนักดนตรีสืบไป เรื่องอพอลโลกับนางแดฟนีนี้ นอกจากจะแสดงตำนานของต้นชัยพฤกษ์แล้ว ยังเป็นนิทาน อุปมาถึงปรากฏการณ์ของธรรมชาติ ที่เกิดเป็นประจำวันเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ (อพอลโล) และน้ำค้าง (แดฟนี) อีกโสดหนึ่งด้วย กล่าวคือยามดวงอาทิตย์ทอแสงลงมาเยี่ยมโลกเมื่อรุ่งอรุณ น้ำค้างที่ยังเหลือ อยู่ตามใบไม้ ใบหญ้า และตามพื้นดินก็หายไปดุจดังนางแดฟนีหนีลับจากอพอลโล ตามท้องเรื่องที่เล่า มาแล้วฉะนั้ ต่อไปนี้จะเล่าตำนานผักตบและต้นสนป่า ตามท้องเรื่องที่เล่าสืบ ๆ มา ในเทพปกรณัมของกรีกว่า อพอลโล มีมนุษย์เป็นเพื่อนที่สนิทเสน่หาอย่างยิ่งคนหนึ่งชื่อว่า ไฮยาซินทัส (Hyacinthus) และมานพนี้ก็เป็นเพื่อนกับ เสฟไฟรัส (Zephyrus) เทพ ประจำลมตะวันตกด้วย เสฟไฟรัสมีความริษยาสุริยเทพ และเคืองแค้นไฮยาซินทัส ในการที่สนิทสุริยเทพยิ่งกว่าตน วันหนึ่งอพอลโลกับไฮยาซินทัสเล่นทอยห่วงเหล็กกัน เสฟไฟรัสผ่านมาพบเข้า จึงคิดแกล้งให้อพอลโลโทมนัสโดยทำให้ไฮยาซินทัสตายเสีย เสฟไฟรัสก็แกล้งเป่าเหล็กของอพอลโลโดยแรงให้ถูกคู่เล่นล้มลง ฝ่ายอพอลโลเห็นเหตุ นั้นจึงกระทำปฐมพยาบาลห้ามเลือดซึ่งไหลออกจากแผลไฮยาซินทัส แต่เลือดก็หาหยุดไหลไม่ ไฮยาซินทัสทนพิษบาดแผลไม่ได้ จึงสิ้นใจลงในขณะนั้นเอง อพอลโลโทมนัสในการตายของปิยมิตรยิ่งนัก และเพื่อให้เป็นเครื่องระลึกถึงปิยมิตรผู้ตายเธอจึงบันดาลให้เลือดของไฮยาซินทัสที่ตกกองอยู่นั้นเป็นกอดอกไม้ เรียกว่า ไฮยาซิน (ผักตบ) ตามชื่อเจ้าของเลือดตั้งแต่นั้นมา ภายหลังมรณะกรรมของไฮยาซินทัส อพอลโลหันไปคบมนุษย์เป็นเพื่อนอีกคนหนึ่งเพื่อให้หายโศก มานพนี้เป็นพรานหนุ่มที่เฉลียวฉลาด มีชื่อว่า ไซพาริสสัส (Cyparissus) แต่รายนี้ก็อีก เป็นมิตรภาพที่มีอันต้องสิ้นสุดลงด้วยความเศร้าโศก เป็นข้อยืนยันว่า อพอลโลมีความอาภัพในมิตรภาพ กล่าวคือ ไซพาริสสัส บังเอิญฆ่า ลูกกวางที่อพอลโลเลี้ยงไว้ ให้เสียใจนัก ไม่เป็นอันกินอันนอนจนซูบผอมลงไปทุกที และในที่สุดก็ตายด้วยความตรอมใจ อพอลโลจึงประสาทให้ร่างอันปราศจากชีวิตของ ไซพาริสสัสกลายเป็นต้นสนป่า และบรรหารว่าสืบแต่นั้นให้ต้นสนป่าจงเป็นต้นไม้สำหรับความร่มรื่นให้เกิดแก่หลุมศพของคนผู้เป็นที่รักของญาติมิตรต่อไป หน้าที่สำคัญที่อพอลโลปฏิบัติอยู่เป็นประจำวันนั้นได้แก่ การขับรถพระอาทิตย์ ขึ้นจากฟากมหาสมุทรเมื่อรุ่งอรุณโคจรไปตามสุริยวิถี ผ่านฟากฟ้าโดยไม่หยุดพักเลย จนถึงเรือทองที่จะจอดคอยเธอในทิศตะวันตก เมื่อสิ้นวันแล้วอพอลโลจึงลงเรือกลับคืนตำหนักสู่วังที่ประทับในทิศตะวันออก รอวันใหม่วนเวียนอยู่ดังนี้ทุกวันเป็นเนืองนิตย์ ยังมีนางอัปสรประจำน่านน้ำ ธิดาของโอเชียนัสกับนางเทวีทีธิสชื่อว่า ไคลที (Clytie) นางหลงใหลใฝ่ฝันในเทพอพอลโลอยู่ คอยเฝ้าดูการโคจรประจำวันของสุริย เทพทุกวัน แต่อพอลโลจะไยดีกับนางก็หาไม่ ถึงกระนั้นนางก็เฝ้าดูเธอทุกวัน นับตั้งแต่วาระเมื่อเธอทรงรถออกจากวังยามเช้าไปจนกระทั่งเธอโคจรถึงทะเลฟากตะวันตก โดย ผินหน้าตามไปมิให้อพอลโลคลาดจากสายตา หวังว่าสักวันหนึ่งอพอลโลคงจะบังเกิดความปฏิพัทธ์เสน่หานางบ้าง นางไคลทีสู้ทนเฝ้าคอยอยู่ดังนั้นเป็นเวลานานไม่ยอมละสาย ตาจากอพอลโลไปมองดูอื่น ในที่สุดเทพทั้งปวงมีความสงสาร จึงเปลี่ยนนางเป็นต้นทานตะวันชูดอกผินตามดวงอาทิตย์ตั้งแต่เช้าจนเย็นเป็นประจำมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ บริวารของอพอลโล อพอลโลมีบริวารที่ควรกล่าวถึงอยู่เหล่าหนึ่ง ได้แก่ คณะศิลปวิทยาเทวี ซึ่งภาษาอังกฤษ เรียกว่า The Muses เป็นเทวีประจำศิลปวิทยาการต่าง ๆ เกิดแต่ซูสเทพบดีกับนางนีโมซินี (Mnemosyne เทวีครองความจำ) มี 9 องค์ มีชื่อและวิชาการเกี่ยวข้องดังนี้ - ไคลโอ (Clio) ประจำประวัติศาสตร์ - ยูเรเนีย (Urania) ดาราศาสตร์ - เมลโพมีนี (Melpomene) เรื่องโศก(tragedy) - ธะไลอะ (Thalia) เรื่องสรวล (comedy) - เทิร์ปซิโครี (Terpsichore) การฟ้อนรำ - คัลลิโอพี (Colliope) บทกวีเรื่อง - เออระโต (Erato) บทกวีรัก - ยูเทอร์พี (Euterpe) บทกวีร้อง - โพลิฮิมเนีย (Polyhymnis) บทกวีร่ายอาศิรพจน์ ...แต่บริวารที่ใกล้ชิดเธอที่สุด คือ อีออส (Eos) หรือ ออโรรา (Aurora) เป็นเทวีครองแสงเงินแสงทอง หรืออุษาเทวี ทำหน้าที่เปิดทวารมุกดา ยามอรุณรุ่งให้รถอพอลโลออก โคจร และพร้อมกันนั้นก็ไขแสงเงินแสงทอง เป็นสัญญาณเบิกทางโคจรของอพอลโลขึ้นด้วย เทพอพอลโล Apollo ...อพลโล (Apollo) เทพคู่แฝดผู้น้องของเทวีอาร์เตมิส คือเทพครองดวงอาทิตย์ ซึ่งภายหลังชาวกรีกและโรมันถือว่า เป็นดวงอาทิตย์ทีเดียว เหมือนอย่างที่ถืออาร์เตมิสเป็นดวงจันทร์ฉันนั้น ในชั้นดั้งเดิมสุริยเทพของกรีกคือ ฮีลิออส(Helios) ซึ่งเป็นบุตรของโอเพอร์เรียน (Hyperion) ในคณะเทพไทแทน แต่เมื่อคณะเทพไทแทนสิ้นอำนาจ ชาวกรีกจึงนับถือเทพ อพอลโลแทนสืบต่อมา เมื่อนาง แลโตนา มารดาของอพอลโล ถูกกระทำด้วยความหึงของเจ้า แม่ฮีรา เพราะเหตุเป็นที่ปฏิพัทธ์เสน่หาของ ซูส ต้องอุ้มครรภ์ หนีงู ไพธอน (Python) ของเจ้าแม่ ซอกซอนไปไม่มีที่จะให้ประสูติบุตรในครรภ์ได้จน ถึงเกาะดีลอส (Delos) เทพโปเซดอน มี ความสงสารบันดาลให้เกาะน้อยผุดขึ้นในทะเล นางจึงให้ประสูติอพอลโลกับอาร์เตมิส บนเกาะ นั้น ในทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา อพอลโลก็จับงูไพธอนฆ่าเสีย ด้วยเหตุนี้ บางทีอพอลโลก็เป็นที่เรียก ขานว่า ไพธูส (Pytheus) แปลว่า "ผู้ประหารไพธอน" นอกจากนี้อพอลโลยังมีชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อ มีชื่อตาม สถานที่เกิดว่า ดีเลียน (Felian) ฟีบัส (Phoebus) แปลว่า "โอภาส" หรือ "ส่องแสง" เป็นอาทิ ชื่อหลังนี้มัก ใช้บวกกับชื่อประจำว่า ฟีบัส อพอลโล เนือง ๆ เมื่อให้ประสูติบุตรแล้ว นางแลโตนาก็ยังไม่พ้นการรังควานของเจ้าแม่ฮีรา ต้องดั้นด้นเซซังต่อไปจนถึงแคว้น เคเรีย (Caria) ซึ่งอยู่ ในเอเซียไมเนอร์ปัจจุบันนี้ นางจำเป็นต้องหยุดพัก ณ ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งด้วยโรยกำลัง และขอดื่มน้ำจาก พวกชาวบ้าน ที่ออกมาถอนหญ้า คาอยู่ในบริเวณนั้น พวกชาวบ้านแทนที่จะสมเพชสงสารกลับ ไล่ตะเพิดและด่าทอนางด้วยคำ หยาบช้า ทำให้ซูสเทพบดีกริ้วจัดนัก ถึงแก่ สาปชาวบ้านเหล่านั้นให้กลายเป็นกบไปทั้งหมด ตำนานเรื่องนี้เห็นจะแสดงว่าใน ละแวกนั้นมีกบ ชุม และกบปัจจุบันอาจสืบเชื้อสายจากชาว บ้านที่ถูกสาปเหล่านั้นก็เป็นได้ อพอลโลเป็นเทพที่ชาวกรีกถือว่ามีรูปงามยิ่ง และเป็นนักดนตรีผู้ขับกล่อมเทพทั้งปวงบนเขาโอลิมปัส ด้วยพิณถือของเธอ นอกจากนี้เธอยังมีคันธนูซึ่งยิงได้ไกล จึงได้สมญานามว่า เทพขมังธนู ใช่แต่เท่านั้นเมื่อไร เธอยังเป็นเทพผู้ถ่ายวิชาโรคศิลป์ ให้แก่มนุษย์เป็นปฐม เป็นเทพแห่งแสงสว่างผู้ขจัดความมืดและเป็นเทพแห่ง สัจธรรมผู้ไม่เคยเอ่ยวาจาเท็จอีกด้วย วิหารของเทพอพอลโลนั้น มีอยู่ดาษดื่นทั่วไปในประเทศแต่ที่สำคัญที่สุดได้แก่วิหาร ณ เมืองเดลฟี ใกล้ทิวเขาพาร์นาซัส รูปอนุสาวรีย์ โคลอสซัส (Colosus) ที่เขาสร้างอุทิศแด่เธอ ณ เกาะ โรดส์ (Rhodes) นั้นเป็นสิ่งหนึ่งในสิ่งอัศจรรย์ทั้ง 7 ของโลกสมัยโบราณทีเดียว เทพอพอลโลได้สำแดงวีรกรรมสังหารผลาญชีวิตคนพาลมากมาย นอกจากเคยฆ่างู ยักษ์ไพธอนจนมีชื่อ เสียงมหาศาลแล้ว ยังสามารถสังหารยักษ์ อโลอาดี (Aloadae) และ อีฟิอัลทิส(Ephialtes) ซึ่งเป็นเชื้อสายของ วงศ์ไทแทนคิดล้มซูสเทพบดีเพื่อฟื้นวงศ์ไทแทนคืนมา เป็นต้น แต่มีครั้งหนึ่งที่อพอลโลยังไม่อาจเอาชนะมนุษย์ คนหนึ่งได้จนร้อนถึงไท้เทพซูสต้องออกมาประนีประนอม บุรุษเดินดินคนนั้นนามว่า เฮอร์คิวลิส หรือ เฮลาคลิสนั่นเอง เหตุเกิดเพราะเฮอร์คิวลิสไปขอคำพยากรณ์ที่วิหารเดลฟีแล้ว ได้รับคำทำนายไม่ถูกใจ จึงล้มโต๊ะ พิธีใน วิหารแล้วฉวยเอากระถางธูปไป เทพอพอลโลรีบรุดตามไปท้าเล่นมวยปล้ำเพื่อชิงเอากระถางคืน ปล้ำกันอยู่ นานไม่อาจรู้แพ้ชนะ ชะรอยซูสเห็น ท่าว่าขืนปล่อยไว้นานอพอลโลอาจจะเสียเปรียบพ่ายแพ้แก่มนุษย์เข้าได้ และ อาจเสียหน้าวงศ์เทพแน่ จึงเสด็จลงไปห้ามปรามให้เลิกราต่อกัน ขอให้เฮอร์คิวลิสคืนกระถางธูปแก่อพอลโล แล้วให้ เลิกราเรื่องบาดหมางต่อกัน เรื่องราวก็เลยจบลงด้วยดี เทพอพอลโลมีอุปนิสัยไม่ยอมแพ้ใครอยู่ไม่น้อย เห็นได้จากที่ไปแข่งเป่าขลุ่ยกับมาไซยาส์ซึ่งเป็นเทพชั้นรอง แล้วตั้งกรรมการตัดสินว่าผู้ใดเป่าเก่งกว่ากัน พระเจ้าไมดาส (Midas องค์ที่จับอะไรก็กลายเป็นทอง) เกิดตัดสินเข้าข้างมาไซยาส์ เพียงเท่านี้ อพอลโลก็ไม่ฟังอะไรอีก จึงสาปให้ไมดาสมีหูเป็นลาไปทันที ตามเรื่องต่าง ๆ ที่เธอมีบทบาทอยู่ อพอลโลดูจะเป็นเทพใจสูงกว่าองค์อื่น ๆ แต่ถึงกระนั้นก็มีอยู่ 2-3 เรื่อง ที่แสดงให้เห็นความโหดเ!้ยมดุร้ายของเธอดังเราจะเห็น จากเรื่องต่อไปนี้ การลงโทษนางไนโอบี เทพอพอลโลกับเทวีอาร์เตมิสเป็นที่สวาสดิ์ภาคภูมิใจของมารดายิ่งนัก นางถึงแก่โอ้อวดคุยฟุ้งเฟื่องไปไกลว่าจะหาบุตรใครเสมอบุตรของนางเห็นจะไม่มีอีกแล้ว ไม่ว่าจะเปรียบกันในเชิงสิริรูป สติปัญญา หรือพลังอำนาจ ก็ต้องแพ้บุตรของนางหลุดลุ่ย ความนี้เลื่องลือไปถึงนาง ไนโอบี (Niobe) ซึ่งเป็นธิดาของท้าว แทนทะลัส (Tantalus) และมเหสีเจ้ากรุง ธีบส์ (Thebes) นางไนโอบีกลับหัวเราะเยาะและค่อนว่า นางแลโตยามีลูกจะอวดกับเขาแต่เพียง 2 เท่านี้หรือ ส่วนนางเองสิมีถึง 14 เป็นชาย 7 ล้วนแต่มีรูปกำยำงามสง่า และเป็นหญิงล้วนแต่ทรงโฉมวิลาสวิไลถึง 7 นางไนโอบีลั่นวาจาก้าวร้าวสบประมาทนางแลโตนาอีกเป็นอันมาก ซ้ำยังกำเริบเสิบสานถึงแก่ห้ามชาวเมือง ของนางกระทำบูชาเทพอพอลโลและเทวีอาร์เตมิส แถมบังอาจสั่งให้ทำลายรูปเคารพเทพและเทวีคู่นี้จากแท่นที่บูชา ในอาณาจักรของนางอีกด้วย นางแลโตนาโกรธแค้นหนักหนาในการที่ถูกหยามหยาบถึงเพียงนี้ จึงเรียกบุตรและ ธิดาเคียงข้าง และสั่งให้ออกตามฆ่าบุตรและธิดาของนางไนโอบีเสียให้สิ้น เทพบุตรเทพธิดาคู่แฝดอยู่ในอารมณ์ขึ้งเคียดเต็มที่ จึงขมีขมันออกไปตามคำสั่งทันที อพอลโลพบมานพทั้ง 7 ออกล่า! จึงประหารเสียด้วยลูกธนูตายหมดทั้ง 7 คน เมื่อข่าวการตายของบุตรรู้ไปถึงนางไนโอบี นางก็โศกเศร้า โทมนัสนัก ฝ่ายเจ้ากรุงธีบส์สวามีก็ทำลายตัวเองสิ้นไปด้วยอีกคนหนึ่ง ยังเหลือธิดาทั้ง 7 ยังไม่ทันที่มารดาจะวายโศก ก็ถูกเทวีอาร์เตมิสจองประหารอีก มิใยสาวผู้ถึงฆาตทั้ง 7 จะพยายามหนีให้พ้นลูกธนูของเจ้าแม่แห่งนายพรานอย่างไร ๆ ก็ไม่สำเร็จ แม้นาง ไนโอบีจะพยายามปกป้องลูก และอ้อนวอนขอความอารักขาคุ้มครองจากทวยเทพบนเขาโอลิมปัสสักเท่าใดก็ไม่เป็น ผล ธิดาของนางต้องศรล้มกลิ้งตายกันระเนระนาด ที่สุดจนนางที่ซุกอยู่ระหว่างอุระของมารดา เทวีอาร์เตมิสผู้อาฆาตก็ไม่ละเว้น ลูกธนูของเจ้าแม่แล่นเข้าเป้าเสียบนางนั้น ให้วายชีวิตไปแทบอุระของมารดาจนได้ นางไนโอบีสูญสิ้นทั้งสามีและบุตรธิดาที่มาดหมายเหลือแต่นางเดียวดายถึงไม่ตายก็เหมือนตาย ความเศร้ารันทดหนุนเนื่องประดังขึ้นมาแน่นอุระ นางก็แข็งชาไปทั้ง ร่างกาย มิอาจจะขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวได้ อนิจจา! ร่างของนางกลายเป็นหินตื้อตันไปหมด คงอยู่แต่หยาดน้ำตารินไม่สิ้นสุด แต่วันนั้นมาจนวันนี้ น้ำตานางจะหยุดไหลก็หา ไม่ ส่วนรูปหินของนางไนโอบีก็ยังปรากฏอยู่บนเขา ไซปิลัส (Sipylus) จนตราบเท่าทุกวันนี้ นักเทพปกรณัมวิทยาเขาว่ากันว่า เรื่องนี้ก็คือ ตำนานเปรียบเทียบถึงอำนาจของแสงอาทิตย์เมื่อสิ้นฤดูหนาว ซึ่งนางไนโอบีนั้นหมายถึงฤดูหนาว บุตรทั้ง 7 คือระยะ กาลแห่งความหนาว และลูกธนูของอพอลโลก็คือแสงอาทิตย์ อพอลโลถูกเนรเทศ เมื่อยังเยาว์อพอลโลเที่ยวไปตามแว่นแคว้นต่าง ๆ ทางทิศเหนือของประเทศกรีซ มีดินแดนของชนชาติไฮเพอร์โบเรียนและแคว้นเธสสะลีเป็นต้น เธอเที่ยวผูก สมัครรักใคร่หญิงทั่วไปตามวิสัยหนุ่มรุ่น ในแคว้นเธสสะลีมีสาวเจ้าคนหนึ่งงามนัก ชื่อว่า โครอนนิส (Coronis) เป็นธิดาเจ้าแห่งแคว้นนั้น อพอลโลผูกสมัครรักใคร่ได้ เสียกับนางจนเกิดบุตรด้วยกันคนหนึ่ง แต่นางกลับปรากฏว่าเป็นหญิงหลายใจ ในระหว่างที่นางมีครรภ์ อพอลโลให้นกดุเหว่าขนขาวปลอดตัวหนึ่งเฝ้านางไว้ เมื่อนางคบชู้ นกก็ไปบอกข่าวแก่เทพผู้เป็นนาย อพอลโลบันดาลโทสะ พลอยสาปนกซึ่ง บอกข่าวอัปมงคลให้กลับมีขนสีดำไป ดังนั้นนกดุเหว่าจึงมีขนสีดำตั้งแต่นั้นมา ส่วนนางโครอนนิสถูกฆ่า ว่ากันว่าด้วยน้ำมือของเทพอพอลโลเองบ้าง ด้วยคมศรของเจ้าแม่ อาร์เตมิสบ้าง แต่บุตรในครรภ์ซึ่งจวนจะครบกำหนดคลอดนั้นรอดตาย ด้วยอพอลโล(บ้างก็ว่าเฮอร์มีส) เอาออกจากครรภ์ ตอนเผาศพนางโครอนนิส แล้วมอบให้แก่ ไครอน (Chiron) ผู้มีชาติเป็นอมนุษย์ เซนทอร์ (Centaur) เป็นผู้เลี้ยงดู ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ ไครอนนี้เป็นอาจารย์ผู้ปราดเปรื่อง เชี่ยวชาญในวิชาการต่าง ๆ มีวิชาดนตรี เภสัชกรรมวิทยา และวิชาธนูศิลป์ เป็นต้น เป็นที่นับถือของชาวกรีกโบราณว่า เป็นผู้ สอนมนุษย์ให้รู้จักใช้พืชสมุนไพรทำยา และเป็นอาจารย์ของวีรบุรุษคนสำคัญ ๆ ในเทพปกรณัมมากมาย เช่น อคิลีส, เฮอร์คิวลีส, เยสัน, พีลูส, อีเนียส และคนอื่น ๆ อีก ในตอนปลายอายุถูกเฮอร์คิวลีสยิงด้วยธนูอาบยาพิษ โดยความสำคัญผิดของเฮอร์คิวลีสในระหว่างที่ตามล้างเซนทอร์พวกหนึ่ง แม้เฮอร์คิวลิสจะช่วยแก้ไขให้รอดตาย และ ไครอนแม้จะเป็นหมออยู่กับตัว แต่ก็ไม่สามารถถอนพิษยาได้ พิษยาบันดาลให้ไครอนเจ็บปวดรวดร้าวนักหนา ซูสเทพบดีจึงโปรดให้กลายเป็นดาวอยู่ในกลุ่มดาวชื่อ แซชจิเตริอัส (Sagitarius) บุตรของเทพอพอลโล ที่อาจารย์ไครอนรับฝากไว้นั้นได้ขนานชื่อว่า เอสคิวเลปิอัส (Aesculapius) เป็นเด็กฉลาดเฉลียวมีความเข้าใจแตกฉานและเป็น ที่รักของอาจารย์อย่างยิ่งวิชาที่เขาใส่ใจศึกษาที่สุดได้แก่ โรคศิลป์ เพราะฉะนั้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขี้น เขาจึงกลายเป็นหมอบำบัดโรคผู้มีความสามารถยิ่ง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสในการบำบัดโรคนั้นยิ่งกว่าของอาจารย์มาก ด้วยที่สามารถบำบัดโรคและความป่วย ไข้ได้ทุกชีวิต ซึ่งไครอนเองทำไม่ได้ ในไม่ช้าชื่อ เสียงของเอสคิวเลปิอัสก็เลื่องลือไปไกล ไม่ว่าใครจะเจ็บไข้ได้ป่วย หนักหนาสาหัส หรือเล็กน้อย ถ้าได้รับการบำบัดจากเขาแล้วก็ทุเลาลงอย่างรวดเร็ว จนกล่าวได้ว่าหายวันหายคืนเลย ทีเดียว ผู้คนพากันไปขอรับการบำบัดโรค ณ สำนักของเขา ทั้งจากใกล้และไกลทุกทิศทาง นับว่าการบำเพ็ญประโยชน์ของ เอสคิวเลปิอัสแผ่ไพศาลยิ่ง ทั้งโดยเนื้อ นาบุญและโดยระยะทาง ความสามารถของเอสคิวเลปิอัสเป็นที่เลื่องลือไปจนว่ากันว่า ครั้งหนึ่งเขาสามารถแก้คนตายให้ฟื้นได้ อัน เป็นเหตุ ให้เทพปริณายกซูส กับเทพฮาเดส เจ้าแห่งแดนคนตายเดือดร้อน ทั้งริษยาและหวั่นเกรงในอำนาจ บารมีของ เอสคิวเลปิอัส หากปล่อยไว้นานไปเบื้องหน้าจะทำให้มนุษย์กำเริบอีก เห็นว่าจะละไว้มิได้ ซูสจึงประหาร เอสคิวเลปิอัส ด้วยอสนีบาต เทพอพอลโลบันดาลโทสะกล้าในการตายของบุตร แต่ไม่รู้จะโกรธเอากับเทพบิดาอย่างไร จึงหันไปไล่ เบี้ยเอากับช่างประกอบอสนีบาตถวายซูส คือ เทพฮีฟีสทัส กับยักษ์ไซคลอปส์ เธอน้าวคันธนูเงินมุ่งจะยิงธนู สังหารยักษ์ไซคลอปส์เสียให้สมแค้น แต่ซูสไม่ยอมให้อพอลโลทำเช่นนั้นได้ และเพื่อจะลงโทษบุตรในความ อุกอาจดังนี้ ไท้เธอจึงเนรเทศอพอลโลให้ลงมาอยู่ในมนุษย์โลก และให้เป็นข้าของมนุษย์เป็นเวลา 1 ปีเสียก่อน จึงจะพ้นโทษ เรื่องของเฟอิทอน นอกจากเอสคิวเลปิอัสแล้ว อพอลโลยังมีบุตรอีกคนหนึ่ง แต่เกิดกับนางอัปสร ไคลมินี (Clymene) ชื่อเฟอิทอน (Phaeton) วันหนึ่งเฟอิทอนถูก เพื่อนเรียนหนังสือด้วยกันหัวเราะเยาะ ในการที่อ้างตนเป็นบุตรสุริยเทพ เฟอิทอนทั้งเคืองทั้งอับอายกลับมารบเร้าให้มารดาพาไปหาบิดา เพื่อให้ได้หลักฐานพิสูจน์ว่าตนเป็น บุตรเทพอพอลโลจริง นางไคลมินีจึงบอกทางให้บุตรเดินทางไปทางทิศตะวันออกจนกว่าจะถึงวังที่ประทับของอพอลโล ณ ที่นั้นจะได้พบกับบิดาสมประสงค์ เฟอิทอนรีบดั้นเดินทางโดยไม่หยุดพัก จนล่วงเข้าเขตวังของบิดา แม้ภูมิทำเลบริเวณวังจะงดงามตระการเพียงใด และตำหนักที่ประทับของอพอลโลก็เรืองวิจิตรน่า พรึงเพริดสักปานใด เฟอิทอนก็หาแยแสใส่ใจไม่ ฝ่ายอพอลโลเห็นกุมารเข้าไปใกล้ก็จำได้ว่าเป็นบุตร และเมื่อเฟอิทอนขึ้นถึงบัลลังก์ที่เธอประทับอยู่เธอก็ปฏิสันถารกับ เฟอิทอนอย่างบิดากับบุตร สั่งถามถึงธุระในการที่มาเฝ้า เฟอิทอนจึงทูลแถลงถึงเรื่องราวและความที่พึงประสงค์ พอจบเทพอพอลโลก็ออกอุทานวาจาว่า อนุญาตให้เฟอิทอนได้ ข้อพิสูจน์ตามแต่จะพึงประสงค์ พร้อมทั้งสาบานยืนยันมั่นคง โดยอ้างแม่น้ำสติกส์เป็นทิพยพยานอีกด้วย การสาบานโดยการอ้างชื่อแม่น้ำสติกส์นี้ เป็นการสาบานอันเคร่งครัดที่สุด ซึ่งลงว่าเทพองค์ใดลั่นสาบานแล้ว เทพองค์นั้นจะล่วงละเมิดไม่ได้เป็นอันขาด ถ้าเทพผู้ ล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตามสาบาน จะต้องเสวยน้ำในแม่น้ำนี้ซึ่งจะทำให้ปัญญาเสื่อมเศร้าหมองเป็นเวลา 1 ปี กับจะต้องถูกขับออกจากเขาโอลิมปัสและงดเสวยน้ำอมฤตอีก 9 ปี เฟอิทอนฟังคำสาบานดังนั้น จึงขออนุญาตขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาในวันนั้น เพื่อว่าโลกทั้งมวลจะได้ตระหนักชัดว่า เธอเป็นบุตรสุริยเทพสมจริงตามที่กล่าวอ้าง ก็ แหละรถพระอาทิตย์นั้ไม่ใช่ของสำหรับใครจะขับได้ ด้วยว่าผู้ที่สามารถควบคุมม้าเทียมทั้ง 4 แสนจะพยศที่ลากรถนั้นจะมีก็แต่เทพอพอลโลองค์เดียว เมื่อเฟอิทอนขออนุญาต ขับรถแทนอพอลโลก็ถึงแก่สะดุ้งประหวั่นเกรงจะเกิดเหตุยุ่งยากและเดือดร้อนไปทั่วโลกพิภพและจักรวาล จึงบ่ายเบี่ยงบอกเฟอิทอนให้ขอพรอย่างอื่น ฝ่ายเฟอิทอนมีจิต กำเริบดื้อดึงขึ้นมาเสียแล้ว คงยืนกรานที่จะขอขับรถพระอาทิตย์แทนบิดาให้จงได้ ในที่สุดสุริยเทพซึ่งลั่นสาบานอันไม่พึงล่วงละเมิดออกไปเสียแล้วสุดที่จะบ่ายเบี่ยงต่อไปอีกได้ ก็จำต้องยอมอนุญาตให้เฟอิทอนขับรถพระอาทิตย์แทนได้ดังประสงค์ กำหนดเวลาออกรถดลมาถึงพร้อมแล้ว ม้าเทียมรถก็เตรียมเผ่นโผนโจนทะยานออกอยู่แล้ว นางประจำยามเข้าเคียงข้างรถอยู่พร้อมสรรพฝ่ายอุษาเทวีก็คอย อาณัติสัญญาณสั่งจากสุริยเทพ เตรียมไขทวารเบิกม่านฟ้าอยู่ทีเดียว ฝ่ายเทพอพอลโลจัดแจงชโลมเฟอิทอนด้วยของเย็นกันถูกแสงอาทิตย์แผดเผา พลางสั่งเฟอิทอนให้ขับรถรักษาเส้นทางโคจรเดิมไว้ให้ดี อย่าให้รถออกนอกทางเป็น อันขาด เธอสั่งย้ำซ้ำซากให้บุตรกวดขันระมัดระวังม้าเทียมโดยเคร่งครัดอย่างที่สุด และให้ใช้แส้แต่โดยออมชอมเท่านั้นด้วยว่ามันเป็นม้าที่พยศมาก หนุ่มน้อยฟังบิดาสั่งเสียอย่างระอิดระอา แล้วก็โดดขึ้นนั่งรถทองรวบสายบังเ!ยน ให้สัญญาณอุษาเทวีเปิดทวารและขับรถออกจากวังสุริยเทพด้วยความกระหยิ่ม ลำพองใจ ในชั่วโมงแรก ๆ เฟอิทอนสังวรในคำสั่งเสียของบิดา แต่แล้วความกำเริบเสิบสานเข้าครอบงำ ทำให้ลืมคำสั่งของบิดาเสีย เฟอิทอนขับรถเร็วขึ้นทุกทีจนรถออกนอก ทางโคจรไป ดวงจันทร์และดาราน้อยใหญ่พากันตื่นตระหนกที่ได้เห็นรถสุริยาทิตย์แล่นเตลิดไปกลางหาว แต่ก็ไม่มีปัญญาจะทำประการใดได้ และเฟอิทอนก็ขับรถใกล้โลก พิภพเข้ามาทุกที จนเป็นเหตุให้พืชพันธ์ทั้งปวงเ!่ยวแห้งตายหมด น้ำในแม่น้ำลำธารก็เหือดแห้ง แผ่นดินไหม้เกรียมจนเกิดควันโขมง ผู้คนของแผ่นดินนั้นถูกแสงอาทิตย์ แผดเผาจนตัวดำไปหมดสิ้น เป็นสีกายที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาแต่ครั้งนั้นจนถึงทุกวันนี้ และแผ่นดินที่ถูกรถสุริยาทิตย์เข้าใกล้ในครั้งนั้นก็คือ แอฟริกานั่นเอง เฟอิทอนตื่นตกใจในเหตุอันตนทำให้เป็นไปจึงลงแส้ม้าชักรถให้ถอยห่างจากโลก ม้าก็เผ่นโผนโจนทะยานเหออกห่างโลกเสียลิบลับ ทำให้พืชพันธ์ธัญญาหารที่เหลือ รอดจากความร้อนอยู่บ้าง กลับเ!่ยวเฉาตายลงอีกเพราะความหนาวจัดฉับพลัน ทั้งแผ่นดินแผ่นน้ำตอนนั้นก็มีน้ำแข็งปกคลุมทั่วไปหมด เสียงผู้คนร้องระงมดังขึ้นทุกที จนใน ที่สุดก็ปลุกซูสเทพบดีให้ตื่นจากบรรทมเล็งทิพยเนตรสืบสวนหาสาเหตุ ครั้นได้ความว่าเหตุเกิดจากเฟอิทอนบังอาจขับรถสุริยาทิตย์เช่นนั้น ไท้เธอก็พิโรธนัก คว้าอสนีบาต ฟาดไปที่เฟอิทอน บันดาลให้เฟอิทอนสิ้นชีวิตตกจากรถสุริยาทิตย์ลงสู่แม่น้ำ อีริดานัส ในพริบตา เฟอิทอนมีพี่สาวร่วมอุทร 3 คน เมื่อเฟอิทอนถึงแก่ความตาย นางทั้ง 3 ก็ไปร่ำไห้ที่ริมฝั่งแม่น้ำจนเทพทั้งปวงสงสารเลยแปลงนางเป็นต้นอำพันหลั่งน้ำตาเป็นอำพัน ตั้งแต่บัดนั้น ฝ่ายเพื่อนเล่นคู่หูคนหนึ่งของเฟอิทอนชื่อ ซิกนัส (Cygnus) ก็ลงงมหาศพ ดำผุดดำว่ายในแม่น้ำจนกลายเป็นต้นตะผมลหงส์เล่นน้ำสืบเชื้อสายพงศ์พันธุ์มา จนตราบเท่าทุกวันนี้ ตำนานพฤกษชาติเกี่ยวกับเทพอพอลโล ในบรรดาเรื่องที่เกี่ยวกับเทพอพอลโลโดยตรงมีตำนานพฤกษชาติที่น่ารู้รวมอยู่ด้วย 2-3 เรื่อง เรื่องหนึ่งได้แก่ ตำนาน ต้นชัยพฤกษ์ ซึ่งชาวกรีกถือว่าเป็นต้นไม้คู่บารมีของสุริยเทพทีเดียว เรื่องหนึ่งคือตำนานของต้นไม้น้ำ ที่เราเรียกว่า ผักตบ กับตำนาน ต้นสนป่า และอีกเรื่องหนึ่งเป็น ตำนานต้นทานตะวัน ตำนานต้นชัยพฤกษ์นั้น อยู่ในเรื่องเกี่ยวกับนาง แดฟนี (Daphne) ซึ่งเป็นนางอัปสร รูปงามธิดาของ พีนูส (Peneus) เทพประจำแม่น้ำตามเรื่องเล่าว่า อพอลโลได้พบนางในกลางป่า ให้บังเกิดความพิสมัย จึงเยื้องกราย เข้าหาหมายจะแทะโลม แต่ไม่ทันถึงนางก็วิ่งหนีไปเสียแล้ว ฝ่าย อพอลโลอารามที่ลืมไม่ว่า อะไรอื่นทั้งสิ้นจึงวิ่งตาม วิ่งพลางร้องเรียกให้นางแดฟนีหยุดแม้ชั่วขณะหนึ่ง เท่านั้นก็ตามที เธอสัญญาว่าจะไม่ทำอันตรายเลย นางอัปสรไม่ยอมฟังคำสัญญาหรือวิงวอน ตั้งหน้าแต่รุดหนีอย่างเดียว ฝ่ายอพอลโลก็วิ่งกวด ตามไปโดยไม่ลดละ จนนางแดฟนีเริ่มอ่อนกำลังและตระหนักว่า ฝ่ายไล่กำลังรุกกระชั้นเข้าไปทุกที นางจึงวิ่งหนีกระหืดกระหอบอกสั่นลงยังริมฝั่งแม่น้ำของบิดา ขอให้แปลงร่างนางเสีย หรือบันดาลให้ นางจมลงไปในปฐพี ยังมิทันที่นางจะถึงริมฝั่งน้ำดี นางก็รู้สึกเหมือนหนึ่งตัวเองถูกตรึงติดกับพื้น ด้วย เท้าหยั่งลงในดินเป็นราก ผมและมือก็งอกออกเป็นใบ ส่วนเครื่องคลุมกายกลายเป็นเปลือกไม้ ปกคลุมร่างอันสั่นเทาของนางไป บิดาของนางตอบสนองการที่นางร้องให้ช่วยแล้ว โดยเปลี่ยนนางเป็น ต้นชัยพฤกษ์อยู่ ณ ที่นั้น ฝ่ายอพอลโลตามมาทันไม่เห็นนาง เห็นแต่ต้นไม้ ครั้งแรกเธอไม่รู้สึกเลยว่า สาวเจ้าลับจาก เธอไปแล้ว โดยไม่มีวันจะได้พบอีก แต่เมื่อความจริงเป็นที่ปรากฏดังนั้น เธอจึงมีเทพบรรหารว่า นับ แต่บัดนี้ต้นชัยพฤกษ์ จงเป็นต้นไม้ที่โปรดปรานของเธอ อันคนหลายคนพึงเด็ดช่อใบร้อยพวงมาลา เป็นรางวัลแก่กวีและนักดนตรีสืบไป เรื่องอพอลโลกับนางแดฟนีนี้ นอกจากจะแสดงตำนานของต้นชัยพฤกษ์แล้ว ยังเป็นนิทาน อุปมาถึงปรากฏการณ์ของธรรมชาติ ที่เกิดเป็นประจำวันเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ (อพอลโล) และน้ำค้าง (แดฟนี) อีกโสดหนึ่งด้วย กล่าวคือยามดวงอาทิตย์ทอแสงลงมาเยี่ยมโลกเมื่อรุ่งอรุณ น้ำค้างที่ยังเหลือ อยู่ตามใบไม้ ใบหญ้า และตามพื้นดินก็หายไปดุจดังนางแดฟนีหนีลับจากอพอลโล ตามท้องเรื่องที่เล่า มาแล้วฉะนั้ ต่อไปนี้จะเล่าตำนานผักตบและต้นสนป่า ตามท้องเรื่องที่เล่าสืบ ๆ มา ในเทพปกรณัมของกรีกว่า อพอลโล มีมนุษย์เป็นเพื่อนที่สนิทเสน่หาอย่างยิ่งคนหนึ่งชื่อว่า ไฮยาซินทัส (Hyacinthus) และมานพนี้ก็เป็นเพื่อนกับ เสฟไฟรัส (Zephyrus) เทพ ประจำลมตะวันตกด้วย เสฟไฟรัสมีความริษยาสุริยเทพ และเคืองแค้นไฮยาซินทัส ในการที่สนิทสุริยเทพยิ่งกว่าตน วันหนึ่งอพอลโลกับไฮยาซินทัสเล่นทอยห่วงเหล็กกัน เสฟไฟรัสผ่านมาพบเข้า จึงคิดแกล้งให้อพอลโลโทมนัสโดยทำให้ไฮยาซินทัสตายเสีย เสฟไฟรัสก็แกล้งเป่าเหล็กของอพอลโลโดยแรงให้ถูกคู่เล่นล้มลง ฝ่ายอพอลโลเห็นเหตุ นั้นจึงกระทำปฐมพยาบาลห้ามเลือดซึ่งไหลออกจากแผลไฮยาซินทัส แต่เลือดก็หาหยุดไหลไม่ ไฮยาซินทัสทนพิษบาดแผลไม่ได้ จึงสิ้นใจลงในขณะนั้นเอง อพอลโลโทมนัสในการตายของปิยมิตรยิ่งนัก และเพื่อให้เป็นเครื่องระลึกถึงปิยมิตรผู้ตายเธอจึงบันดาลให้เลือดของไฮยาซินทัสที่ตกกองอยู่นั้นเป็นกอดอกไม้ เรียกว่า ไฮยาซิน (ผักตบ) ตามชื่อเจ้าของเลือดตั้งแต่นั้นมา ภายหลังมรณะกรรมของไฮยาซินทัส อพอลโลหันไปคบมนุษย์เป็นเพื่อนอีกคนหนึ่งเพื่อให้หายโศก มานพนี้เป็นพรานหนุ่มที่เฉลียวฉลาด มีชื่อว่า ไซพาริสสัส (Cyparissus) แต่รายนี้ก็อีก เป็นมิตรภาพที่มีอันต้องสิ้นสุดลงด้วยความเศร้าโศก เป็นข้อยืนยันว่า อพอลโลมีความอาภัพในมิตรภาพ กล่าวคือ ไซพาริสสัส บังเอิญฆ่า ลูกกวางที่อพอลโลเลี้ยงไว้ ให้เสียใจนัก ไม่เป็นอันกินอันนอนจนซูบผอมลงไปทุกที และในที่สุดก็ตายด้วยความตรอมใจ อพอลโลจึงประสาทให้ร่างอันปราศจากชีวิตของ ไซพาริสสัสกลายเป็นต้นสนป่า และบรรหารว่าสืบแต่นั้นให้ต้นสนป่าจงเป็นต้นไม้สำหรับความร่มรื่นให้เกิดแก่หลุมศพของคนผู้เป็นที่รักของญาติมิตรต่อไป หน้าที่สำคัญที่อพอลโลปฏิบัติอยู่เป็นประจำวันนั้นได้แก่ การขับรถพระอาทิตย์ ขึ้นจากฟากมหาสมุทรเมื่อรุ่งอรุณโคจรไปตามสุริยวิถี ผ่านฟากฟ้าโดยไม่หยุดพักเลย จนถึงเรือทองที่จะจอดคอยเธอในทิศตะวันตก เมื่อสิ้นวันแล้วอพอลโลจึงลงเรือกลับคืนตำหนักสู่วังที่ประทับในทิศตะวันออก รอวันใหม่วนเวียนอยู่ดังนี้ทุกวันเป็นเนืองนิตย์ ยังมีนางอัปสรประจำน่านน้ำ ธิดาของโอเชียนัสกับนางเทวีทีธิสชื่อว่า ไคลที (Clytie) นางหลงใหลใฝ่ฝันในเทพอพอลโลอยู่ คอยเฝ้าดูการโคจรประจำวันของสุริย เทพทุกวัน แต่อพอลโลจะไยดีกับนางก็หาไม่ ถึงกระนั้นนางก็เฝ้าดูเธอทุกวัน นับตั้งแต่วาระเมื่อเธอทรงรถออกจากวังยามเช้าไปจนกระทั่งเธอโคจรถึงทะเลฟากตะวันตก โดย ผินหน้าตามไปมิให้อพอลโลคลาดจากสายตา หวังว่าสักวันหนึ่งอพอลโลคงจะบังเกิดความปฏิพัทธ์เสน่หานางบ้าง นางไคลทีสู้ทนเฝ้าคอยอยู่ดังนั้นเป็นเวลานานไม่ยอมละสาย ตาจากอพอลโลไปมองดูอื่น ในที่สุดเทพทั้งปวงมีความสงสาร จึงเปลี่ยนนางเป็นต้นทานตะวันชูดอกผินตามดวงอาทิตย์ตั้งแต่เช้าจนเย็นเป็นประจำมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ บริวารของอพอลโล อพอลโลมีบริวารที่ควรกล่าวถึงอยู่เหล่าหนึ่ง ได้แก่ คณะศิลปวิทยาเทวี ซึ่งภาษาอังกฤษ เรียกว่า The Muses เป็นเทวีประจำศิลปวิทยาการต่าง ๆ เกิดแต่ซูสเทพบดีกับนางนีโมซินี (Mnemosyne เทวีครองความจำ) มี 9 องค์ มีชื่อและวิชาการเกี่ยวข้องดังนี้ - ไคลโอ (Clio) ประจำประวัติศาสตร์ - ยูเรเนีย (Urania) ดาราศาสตร์ - เมลโพมีนี (Melpomene) เรื่องโศก(tragedy) - ธะไลอะ (Thalia) เรื่องสรวล (comedy) - เทิร์ปซิโครี (Terpsichore) การฟ้อนรำ - คัลลิโอพี (Colliope) บทกวีเรื่อง - เออระโต (Erato) บทกวีรัก - ยูเทอร์พี (Euterpe) บทกวีร้อง - โพลิฮิมเนีย (Polyhymnis) บทกวีร่ายอาศิรพจน์ ...แต่บริวารที่ใกล้ชิดเธอที่สุด คือ อีออส (Eos) หรือ ออโรรา (Aurora) เป็นเทวีครองแสงเงินแสงทอง หรืออุษาเทวี ทำหน้าที่เปิดทวารมุกดา ยามอรุณรุ่งให้รถอพอลโลออก โคจร และพร้อมกันนั้นก็ไขแสงเงินแสงทอง เป็นสัญญาณเบิกทางโคจรของอพอลโลขึ้นด้วย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น